Author: admin

  • อบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น หลักสูตร 1 วัน 20 ท่าน/รุ่น อบรม Public 1,200 บาท / ท่าน

    อบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น หลักสูตร 1 วัน 20 ท่าน/รุ่น อบรม Public 1,200 บาท / ท่าน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นตามประกาศเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นและการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2554 กำหนดให้หลักสูตรการอบรมหรือทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง ดังต่อไปนี้

    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    หลักการการตรวจสอบปั้นจั่นเบื้องต้นก่อนใช้งาน
    ความปลอดภัยในการใช้งานปั้นจั่น กรณีที่นำปั้นจั่นชนิดหรือประเภทที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
    เทคนิคการการสอบสวนอุบัติเหตุและการวิเคราะห์อุบัติเหตุ
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ลูกจ้างที่ผ่านการอบรมมาแล้วได้รับการฝึกอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นตามเงื่อนไขของกฎหมาย
    เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น

    ราคา Training In-House 

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการอบรม
    ทฤษฏี

    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นทั่วไป
    ความปลอดภัยในการใช้งานปั้นจั่น กรณีที่นำปั้นจั่นชนิดหรือประเภทที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
    ทบทวนการใช้สัญญาณมือ, วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย, การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    การเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นและความสูญเสียรวมทั้งนำผลการสอบสวนอุบัติเหตุมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนป้องกัน
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้บังคับผู้ควบคุมปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณและผู้ยึดเกาะวัสดุ ที่อบรมมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
    ระยะเวลาในการอบรม
    หลักสูตร 1 วัน 
    การวัดผล 
    ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องสอบผ่านคะแนนภาคทฤษฎีไม่น้อยร้อยละ 60 และภาคปฎิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
    Pretest – Post  test 

    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงาน ผู้ผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรมตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ.2564
    และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุหรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นและการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น 2554
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • อบรมเครน 4 ผู้ หลักสูตร ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน

    อบรมเครน 4 ผู้ หลักสูตร ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูง หรือปั้นจั่นที่มีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกัน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้าง ซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการอบรมหลักสูตรการ ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2554 ทั้งนี้เพื่อให้สถานประกอบกิจการได้จัดให้พนักงานที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่ในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นได้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กฎหมายกำหนดไว้
    ทฤษฎี 9 ชม.
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
    บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
    ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
    การใช้สัญญาณมือ
    การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก
    วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    ปฏิบัติ 9 ชม  เป็นการทดสอบเกี่ยวกับ
    การให้สัญญาณกับผู้บังคับปั้นจั่นเหนือศีรษะ ในการยกวัสดุ เพื่อ เคลื่อนย้าย อย่างปลอดภัย
    การผูก มัด การยึดเกาะวัสดุจริง อย่างถูกต้องเหมาะสม และปลอดภัย
    การวางแผนงานยกอย่างปลอดภัย
    การพิจารณาน้ำหนักที่จะทำการยก วิเคราะห์วัสดุสิ่งของและเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยยก
    วัตถุประสงค์:
    เพื่อให้พนักงานที่ปฎิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นได้เข้ารับการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่กฎหมายกำหนดไว้     
    เพื่อให้ทราบถึงลักษณะชนิด มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    เพื่อให้ทราบถึงลักษณะชนิดและประเภทของปั้นจั่นที่ใช้สำหรับงานก่อสร้างและงานในโรงงานอุตสาหกรรม 
    เพื่อให้ทราบถึงลักษณะชนิดเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก และ การเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์
    เพื่อให้ทราบถึง การใช้สัญญาณมือ ให้ถูกต้องตาม ชนิดของปั้นจั่น
    เพื่อให้นายจ้างได้ปฎิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ 2552 

    ราคา Training In-House

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการอบรม
    วันที่ 1 ของการฝึกอบรม
    ความรู้พื้นฐาน กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือกลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
    บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
    ความปลอดภัยในการทํางาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
    ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น ระบบไฮดรอลิก
    ระบบสัญญาณเตือนและ Limit Switch
    วันที่ 2 ของการฝึกอบรม
    การใช้สัญญาณมือและเครื่องหมายจราจร
    การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก
    วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย
    การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    การอ่านค่าตารางพิกัดยก
    การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
    วันที่ 3 ของการฝึกอบรม
    การทดสอบภาคปฎิบัติจริงซึ่งต้องมีการทำทดสอบการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของ
    การทดสอบภาคปฎิบัติจริงซึ่งต้องมีการผูก มัด การยึดเกาะวัสดุจริงอย่างถูกต้องเหมาะสม และปลอดภัย
    การให้สัญญาณกับผู้บังคับปั้นจั่นเหนือศีรษะในการยกวัสดุ เพื่อเคลื่อนย้ายอย่างปลอดภัย
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับปั้นจั่น
    ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นประเภทปั้นจั่นชนิดติดตั้งอยู่กับที่
    ระยะเวลาในการอบรม
    หลักสูตร 3 วัน (18 ชั่วโมง) 

    การวัดผล
    ผู้เข้ารับการอบรมต้องเข้าเรียนครบ 100%
    ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องสอบผ่านคะแนนภาคทฤษฎีไม่น้อยร้อยละ 60 และ ภาคปฎิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรมตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ.2564
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น/เครน

    หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น/เครน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    หมวด 1 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
    ————————
    ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการที่นายจ้างต้องจัดให้มีตามวรรคหนึ่ง จะเป็นประเภทใดหรือระดับใด ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในหมวดนี้

    ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมีสองประเภท ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ

    ส่วนที่ 1   
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง

    ข้อ 6 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่งมีสองระดับ ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
    ข้อ 7 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวนสองคนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวนยี่สิบคนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับหัวหน้างานซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 8 ทุกคน เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว  ในกรณีที่ลูกจ้างระดับหัวหน้างานไม่มีคุณสมบัติตามข้อ 8 ให้นายจ้างดำเนินการให้ลูกจ้างนั้นเข้ารับการฝึกอบรมตามข้อ 8 (1) เพื่อแต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่นายจ้างแต่งตั้งให้เป็นลูกจ้างระดับหัวหน้างาน


    ส่วนที่ 2
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ

    ข้อ 13 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะของสถานประกอบกิจการมีสามระดับ ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูง
    (3) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ
    ข้อ 14 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวนยี่สิบคนขึ้นไป แต่ไม่ถึงห้าสิบคน ต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 15 อย่างน้อยหนึ่งคน เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค เพื่อปฏิบัติหน้าที่ประจำสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว
    ข้อ 15 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
    (1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
    (2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
    (3) มีคุณสมบัติตามข้อ 18 หรือข้อ 21 แล้วแต่กรณี
    ข้อ 16 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
    (1) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    (2) วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตรายและกำหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทำงานอย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง
    (3) แนะนำให้ลูกจ้างปฏิบัติตามคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
    (4) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้าง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ปัญหาต่อนายจ้าง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า
    (5) รวบรวมสถิติและจัดทำรายงานและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้างเสนอต่อนายจ้าง
    (6) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย
     
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ “จป.เทคนิค” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้อบรมสามารถชี้บ่งอันตรายในสถานที่ทำงานและประยุกต์ใช้ตามบทบาทหน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคได้
    ตารางการอบรม Public

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการอบรม
    วันที่ 1 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค (3 ชั่วโมง)
    (ก) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำงาน
    (ข) หลักการบริหารจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
    (ค) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
    หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (3 ชั่วโมง)
    (ก)  การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของกระทรวงแรงงาน
    (ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และการนำกฎหมายไปสู่การปฏิบัติ
    (ค) การตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    วันที่ 2 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 3 การประเมินอันตรายจากการทำงาน (6 ชั่วโมง)
    (ก) เทคนิคการชี้บ่งอันตราย
    (ข) การประเมินความเสี่ยง
    (ค) การจัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงและควบคุมอันตราย
    วันที่ 3 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 4 การตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย จากการทำงาน และการปรับปรุงสภาพการทำงาน (6 ชั่วโมง) 
    (ก) การตรวจความปลอดภัย
    (ข) การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
    (ค) การจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน
    (ง) การสอบสวน การวิเคราะห์ และการรายงานอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทำงาน
    (จ) การปรับปรุงสภาพการทำงาน
    (ฉ) การรวบรวมสถิติ การจัดทำรายงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน และเสนอแนะต่อนายจ้าง
    วันที่ 4 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 5 การป้องกันและการควบคุมอันตราย (3 ชั่วโมง)

    (ก) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร
    (ข) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้า
    (ค) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บวัสดุ
    (ง) การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
    (จ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    (ฉ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสารเคมี
    (ช) การป้องกันและควบคุมปัญหาด้านการยศาสตร์
    (ซ) การป้องกันและควบคุมอันตรายในงานก่อสร้าง
    (ฌ) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
    หมวดวิชาที่ 6 การฝึกปฏิบัติ (9 ชั่วโมง) (ก)  การฝึกปฏิบัติการตรวจความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย
    (ข) การฝึกปฏิบัติการชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงและควบคุมอันตราย
    วันที่ื 5 ของการอบรม
    หมวดวิชาที่ 6 การฝึกปฏิบัติ (9 ชั่วโมง) ต่อ 
    (ค) การฝึกปฏิบัติการจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน
    (ง) การฝึกปฏิบัติการสอบสวน การวิเคราะห์ และการรายงานอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทำงาน
    (จ) การฝึกปฏิบัติการปรับปรุงสภาพการทำงาน
    (ฉ) การฝึกปฏิบัติการจัดทำรายงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน
     กลุ่มเป้าหมาย
    สถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๒) ถึง (๕) ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ยี่สิบคนขึ้นไปแต่ไม่ถึงห้าสิบคน 
    ผู้อบรมผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร จป.หัวหน้างาน  
     ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  5  วัน
     การวัดผล
    ทำทดสอบก่อน – หลังการอบรม /ระยะเวลาเช้ารับการอบรม 100 %
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    คู่มือการฝึกอบรมที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจัดพิมพ์และจำหน่าย
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค) ราคา Pubilc ท่านละ 7,500 บาท 技术级安全员

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับเทคนิค (จป.เทคนิค) ราคา Pubilc ท่านละ 7,500 บาท 技术级安全员

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    หมวด 1 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
    ————————
    ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการที่นายจ้างต้องจัดให้มีตามวรรคหนึ่ง จะเป็นประเภทใดหรือระดับใด ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในหมวดนี้

    ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมีสองประเภท ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ

    ส่วนที่ 1   
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง

    ข้อ 6 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่งมีสองระดับ ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
    ข้อ 7 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวนสองคนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวนยี่สิบคนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับหัวหน้างานซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 8 ทุกคน เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว  ในกรณีที่ลูกจ้างระดับหัวหน้างานไม่มีคุณสมบัติตามข้อ 8 ให้นายจ้างดำเนินการให้ลูกจ้างนั้นเข้ารับการฝึกอบรมตามข้อ 8 (1) เพื่อแต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่นายจ้างแต่งตั้งให้เป็นลูกจ้างระดับหัวหน้างาน


    ส่วนที่ 2
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ

    ข้อ 13 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะของสถานประกอบกิจการมีสามระดับ ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูง
    (3) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ
    ข้อ 14 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวนยี่สิบคนขึ้นไป แต่ไม่ถึงห้าสิบคน ต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 15 อย่างน้อยหนึ่งคน เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค เพื่อปฏิบัติหน้าที่ประจำสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว
    ข้อ 15 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
    (1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
    (2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
    (3) มีคุณสมบัติตามข้อ 18 หรือข้อ 21 แล้วแต่กรณี
    ข้อ 16 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
    (1) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    (2) วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตรายและกำหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทำงานอย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง
    (3) แนะนำให้ลูกจ้างปฏิบัติตามคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
    (4) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้าง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ปัญหาต่อนายจ้าง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า
    (5) รวบรวมสถิติและจัดทำรายงานและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้างเสนอต่อนายจ้าง
    (6) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย
     
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ “จป.เทคนิค” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้อบรมสามารถชี้บ่งอันตรายในสถานที่ทำงานและประยุกต์ใช้ตามบทบาทหน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคได้
    ตารางการอบรม Public

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการอบรม
    วันที่ 1 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค (3 ชั่วโมง)
    (ก) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำงาน
    (ข) หลักการบริหารจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
    (ค) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
    หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (3 ชั่วโมง)
    (ก)  การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของกระทรวงแรงงาน
    (ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และการนำกฎหมายไปสู่การปฏิบัติ
    (ค) การตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    วันที่ 2 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 3 การประเมินอันตรายจากการทำงาน (6 ชั่วโมง)
    (ก) เทคนิคการชี้บ่งอันตราย
    (ข) การประเมินความเสี่ยง
    (ค) การจัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงและควบคุมอันตราย
    วันที่ 3 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 4 การตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย จากการทำงาน และการปรับปรุงสภาพการทำงาน (6 ชั่วโมง) 
    (ก) การตรวจความปลอดภัย
    (ข) การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
    (ค) การจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน
    (ง) การสอบสวน การวิเคราะห์ และการรายงานอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทำงาน
    (จ) การปรับปรุงสภาพการทำงาน
    (ฉ) การรวบรวมสถิติ การจัดทำรายงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน และเสนอแนะต่อนายจ้าง
    วันที่ 4 ของการอบรม 
    หมวดวิชาที่ 5 การป้องกันและการควบคุมอันตราย (3 ชั่วโมง)

    (ก) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร
    (ข) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้า
    (ค) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บวัสดุ
    (ง) การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
    (จ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    (ฉ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสารเคมี
    (ช) การป้องกันและควบคุมปัญหาด้านการยศาสตร์
    (ซ) การป้องกันและควบคุมอันตรายในงานก่อสร้าง
    (ฌ) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
    หมวดวิชาที่ 6 การฝึกปฏิบัติ (9 ชั่วโมง) (ก)  การฝึกปฏิบัติการตรวจความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย
    (ข) การฝึกปฏิบัติการชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงและควบคุมอันตราย
    วันที่ื 5 ของการอบรม
    หมวดวิชาที่ 6 การฝึกปฏิบัติ (9 ชั่วโมง) ต่อ 
    (ค) การฝึกปฏิบัติการจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน
    (ง) การฝึกปฏิบัติการสอบสวน การวิเคราะห์ และการรายงานอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทำงาน
    (จ) การฝึกปฏิบัติการปรับปรุงสภาพการทำงาน
    (ฉ) การฝึกปฏิบัติการจัดทำรายงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน
     กลุ่มเป้าหมาย
    สถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๒) ถึง (๕) ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ยี่สิบคนขึ้นไปแต่ไม่ถึงห้าสิบคน 
    ผู้อบรมผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร จป.หัวหน้างาน  
     ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  5  วัน
     การวัดผล
    ทำทดสอบก่อน – หลังการอบรม /ระยะเวลาเช้ารับการอบรม 100 %
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    คู่มือการฝึกอบรมที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจัดพิมพ์และจำหน่าย
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ (คปอ) ราคา น หลักสูตร ภาษาอังกฤษ Safety Committee อบรมด่วน

    หลักสูตร คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ (คปอ) ราคา น หลักสูตร ภาษาอังกฤษ Safety Committee อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    ศูนย์ฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงาน
        ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน


    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
    อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานพ.ศ. ๒๕๔๙
    กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับแก่กิจการหรือสถานประกอบกิจการ ดังต่อไปนี้
    (๑) การทำเหมืองแร่ เหมืองหิน กิจการปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี
    (๒) การทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง ดัดแปลง แปรสภาพ ทำให้เสีย หรือทำลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สิน รวมทั้งการต่อเรือ การให้กำเนิดแปลง และจ่ายไฟฟ้าหรือพลังงานอย่างอื่น
    (๓) การก่อสร้าง ต่อเติม ติดตั้ง ซ่อม ซ่อมบำรุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดิน ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางน้ำ ถนน เขื่อน อุโมงค์ สะพาน ท่อระบาย ท่อน้ำ โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซหรือประปา หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ รวมทั้งการเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง
    (๔) การขนส่งคนโดยสารหรือสินค้าโดยทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ และรวมทั้งการบรรทุกขนถ่ายสินค้า
    (๕) สถานีบริการหรือจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ
    (๖) โรงแรม
    (๗) ห้างสรรพสินค้า
    (๘) สถานพยาบาล
    (๙) สถาบันทางการเงิน
    (๑๐) สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ
    (๑๑) สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรือการกีฬา
    (๑๒) สถานปฏิบัติการทางเคมีหรือชีวภาพ                                                                  
    (๑๓) สำนักงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม (๑) ถึง (๑๒)
    (๑๔) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกำหนด


    หมวด ๑ บททั่วไป
    ข้อ ๓ ให้นายจ้างจัดให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการได้รับการอบรมเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ตามกฎหมาย ตามหลักเกณฑ์วิธีการ หลักสูตรการอบรมและวิทยากรที่กำหนดไว้ในประกาศนี้
    วัตถุประสงค์

    เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ของ “คณะกรรมการ” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด
    ตารางการอบรม Public

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้ออบรม                                                                 
    วันที่ 1 ของการอบรม
     หมวดวิชาที่ 1 การบริหารคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ
    รหัสวิชา
    –   (ก) แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    –   (ข) การพิจารณาแผนงานและโครงการความปลอดภัยในการทำงานและความปลอดภัยนอกงาน
    หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน
    รหัสวิชา
    –   (ก) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน  พ.ศ. 2549
    –   (ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานที่เกี่ยวข้อง
    หมวดวิชาที่ 3 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
    รหัสวิชา
    –   (ก) การควบคุมและป้องกันการประสบอันตรายจากการทำงาน
    –   (ข) การสำรวจความปลอดภัย
    วันที่ 2 ของการอบรม
    หมวดวิชาที่ 3 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
    รหัสวิชา
    –           –  (ค) การจัดทำข้อบังคับ คู่มือและมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำงาน 
           –  (ง) การวางระบบการรายงานสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
            –   (จ) การประเมินผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน
            –   (ฉ) การประชุมและการติดตามงาน
    กลุ่มเป้าหมาย
    สถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๑) ถึง (๕) ที่มีลูกจ้างตั้งแต่สองคนขึ้นไป
    คณะกรรมการความปลอดภัย
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  2  วัน
     การวัดผล
    ทำทดสอบก่อน – หลังการอบรม /ระยะเวลาเช้ารับการอบรม 100 %

  • เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร (จป.บริหาร) ราคา Pubilc 2,500 บาท/ท่าน หลักสูตร ภาษาอังกฤษ Safety Officer in Management Level. 管理级安全员

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร (จป.บริหาร) ราคา Pubilc 2,500 บาท/ท่าน หลักสูตร ภาษาอังกฤษ Safety Officer in Management Level. 管理级安全员

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
    ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
    เลขที่ใบอนุญาต จป ๑๓-๖๖-0๒๒
    หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
    อาศัยอำนาจตามความใน มาตรา 5 วรรคหนึ่ง และ มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
    ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลบังคับใช้ 16 สิงหาคม 2565)
    ข้อ 2 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
    หมวด 1
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

    ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
    ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ
    ข้อ 10 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวน 2 คนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวน 20 คนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับผู้บริหารซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 11 ทุกคน เป็น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร ของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายใน 120 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว
    ข้อ 11 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารต้องเป็นลูกจ้างระดับผู้บริหาร และมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
    (1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
    (2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานฯ
    (3) มีคุณสมบัติตามข้อ 21
    ข้อ 12 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
    (1) กำกับดูแลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของตน
    (2) เสนอแผนงานหรือโครงการด้านความปลอดภัยในการทำงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อนายจ้าง
    (3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
    (4) กำกับดูแลและติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติหน้าที่ “จป.บริหาร” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
    ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
    เลขที่ใบอนุญาต จป ๑๓-๖๖-0๒๒
    หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
    อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
    ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลบังคับใช้ 16 สิงหาคม 2565)
    ข้อ 2 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
    หมวด 1
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

    ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
    ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ
    ข้อ 10 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวน 2 คนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวน 20 คนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับผู้บริหารซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 11 ทุกคน เป็น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร ของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายใน 120 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว
    ข้อ 11 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารต้องเป็นลูกจ้างระดับผู้บริหาร และมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
    (1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
    (2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานฯ
    (3) มีคุณสมบัติตามข้อ 21
    ข้อ 12 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
    (1) กำกับดูแลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของตน
    (2) เสนอแผนงานหรือโครงการด้านความปลอดภัยในการทำงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อนายจ้าง
    (3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
    (4) กำกับดูแลและติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติหน้าที่ “จป.บริหาร” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด

  • เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน) ราคา Pubilc 2,500 บาท/ท่าน หลักสูตรภาษาอังกฤษ Safety Officer Supervisory level 工头级安全员

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน) ราคา Pubilc 2,500 บาท/ท่าน หลักสูตรภาษาอังกฤษ Safety Officer Supervisory level 工头级安全员

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
    เลขที่ใบอนุญาต จป ๑๓-๖๖-0๒๒

    หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน

    (จป.หัวหน้างาน)  
       ————————

    อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
    ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลบังคับใช้ 16 สิงหาคม 2565)
    ข้อ 2 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549

                                                                          หมวด 1
                                                        เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน


    ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มี
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการที่นายจ้างต้องจัดให้มีตามวรรคหนึ่ง จะเป็นประเภทใดหรือระดับใด ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในหมวดนี้
    ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
    (1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
    (2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ
    ข้อ 7 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวนสองคนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวนยี่สิบคนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับหัวหน้างานซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 8 ทุกคน เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว

       ในกรณีที่ลูกจ้างระดับหัวหน้างานไม่มีคุณสมบัติตามข้อ 8 ให้นายจ้างดำเนินการให้ลูกจ้างนั้นเข้ารับการฝึกอบรมตามข้อ 8 (1) เพื่อแต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่นายจ้างแต่งตั้งให้เป็นลูกจ้างระดับหัวหน้างาน
    ข้อ 8 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานต้องเป็นลูกจ้างระดับหัวหน้างาน และมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
    (1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
    (2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
    (3) มีคุณสมบัติตามข้อ 15 ข้อ 18 หรือข้อ 21 แล้วแต่กรณี
    ข้อ 9 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
    (1) กำกับดูแลลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบให้ปฏิบัติตามคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ
    (2) วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้นหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องต้นจาก การทำงาน โดยอาจร่วมดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิค ขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ
    (3) จัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยร่วมดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ เพื่อเสนอคณะกรรมการความปลอดภัยหรือนายจ้าง แล้วแต่กรณี และทบทวนคู่มือดังกล่าวตามที่นายจ้างกำหนด โดยนายจ้างต้องกำหนดให้มีการทบทวนอย่างน้อยทุกหกเดือน
    (4) สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องแก่ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน
    (5) ตรวจสอบสภาพการทำงานของเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยก่อนลงมือปฏิบัติงานประจำวัน
    (6) กำกับดูแลการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบ
    (7) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ สำหรับสถานประกอบกิจการที่มีหน่วยงานความปลอดภัย ให้แจ้งต่อหน่วยงานความปลอดภัยทันทีที่เกิดเหตุ
    (8) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ปัญหาต่อนายจ้าง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า
    (9) ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
    (10) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจ้างหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารมอบหมาย

    วัตถุประสงค์

    • เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
    • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
    • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของจป.หัวหน้างานตามที่กฎหมายกำหนด

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    วันที่ 1 ของการอบรม
    หมวดวิชาที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน

    • (ก) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    • (ข) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน

    หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

    • (ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของกระทรวงแรงงาน
    • (ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและการนำกฎหมายไปสู่การปฏิบัติ

    วันที่ 2 ของการอบรม

    หมวดวิชาที่ 3 การค้นหาอันตรายจากการทำงาน และการจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

    • (ก) การตรวจความปลอดภัย
    • (ข) การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
      • (ค) การสอบสวนและการรายงานอุบัติเหตุ
      • (ง) การจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
        หมวดวิชาที่ 4 การป้องกันและควบคุมอันตราย
    • (ก) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร
    • (ข) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้า
    • (ค) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บวัสดุ
    • (ง) การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
    • (ฉ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสารเคมี
    • (ช) การป้องกันและควบคุมปัญหาด้านการยศาสตร์
    • (ซ) การป้องกันและควบคุมอันตรายในงานก่อสร้าง
    • (ฌ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

    กลุ่มเป้าหมาย

    สถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๑) ถึง (๕) ที่มีลูกจ้างตั้งแต่สองคนขึ้นไป
    พนักงานระดับหัวหน้างาน
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร 2 วัน
    การวัดผล
    ทำทดสอบก่อน – หลังการอบรม /ระยะเวลาเช้ารับการอบรม 100 %
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    คู่มือการฝึกอบรมที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจัดพิมพ์และจำหน่าย
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • Hello world!

    Welcome to WordPress. This is your first post. Edit or delete it, then start writing!