Category: หลักสูตรฝึกอบรม IATF 16949 Training Courses อบรมด่วน อบรมออนไลน์

  • หลักสูตร Quality Awareness (Quality Improvement Program)

    หลักสูตร Quality Awareness (Quality Improvement Program)

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

      โลกแห่งการแข่งขันในทางธุรกิจ มีสถานการณ์ต่าง ๆ มากมายที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ที่เป็นปัญหา หรือ สถานการณ์ที่ต้องเลือก Quality Awareness จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจในแต่ละสถานการณ์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการ เพราะว่าสถานการณ์แต่ละสถานการณ์นั้นมีความแตกต่างกันไป เราไม่สามารถนำวิธีการใดที่ใช้ได้ผลกับสถานการณ์หนึ่งไปใช้กับอีกสถานการณ์ที่ต่างกันไปได้ ดังนั้นการฝึกฝนพัฒนาทักษะการคิด Quality Awareness จึงจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในสถานการณ์อย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดอย่างเป็นระบบ และสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยคำนึงผลกระทบที่ตามมา

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับจิตสำนึกด้านคุณภาพ เกิดวัฒนธรรมการทำงานที่ดีและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
    เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการ แนวความคิด มุมมองทางด้านคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต และให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพในแต่ละส่วนงาน และต่อธุรกิจ
    เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในการควบคุมคุณภาพนั้นมีความสำคัญในงานอย่างไร จนสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
    เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน และนำแนวทางด้านคุณภาพมาประยุกต์ใช้กับกระบวนการภายใน

    หัวข้อการอบรม

    กรอบแนวคิดด้านคุณภาพ ความหมายและความสำคัญของ”คุณภาพ”
    การประกันคุณภาพและการบริหารคุณภาพ
    ระบบการจัดการคุณภาพในแบบต่างๆ
    แนวคิดของลูกค้า (กลยุทธ์เพื่อสร้างความตระหนักในคุณภาพให้กับพนักงาน)
    วิธีการสร้างความพอใจให้กับลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก
    ปัจจัยที่ก่อให้เกิดคุณภาพในองค์กร
    แนวทางการสร้างความตระหนักในคุณภาพ
    ตัวอย่างแนวทางปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ขององค์กรชั้นนำ
    งานคุณภาพเป็นอย่างไร คนคุณภาพเป็นอย่างไร
    สามัญสำนึกและจิตสำนึกคุณภาพต่างกันอย่างไร
    พฤติกรรม 5 ประการของผู้มีจิตสำนึกคุณภาพ
    การเพิ่มศักยภาพของตนเอง (Personal mastery)
    กลุ่มเป้าหมาย

    บุคลากรทั้งหมดในองค์กร หรือผู้ที่สนใจ
     หัวหน้างาน หรือวิศวกร ที่ต้องการปรับปรุงคุณภาพในการทำงาน
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Quality Awareness
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Problem Solving and Making Decision (Quality Improvement Program)

    หลักสูตร Problem Solving and Making Decision (Quality Improvement Program)

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     โลกแห่งการแข่งขันในทางธุรกิจ มีสถานการณ์ต่าง ๆ มากมายที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ที่เป็นปัญหา หรือ สถานการณ์ที่ต้องเลือก ทักษะการคิด (Thinking Skills) จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจในแต่ละสถานการณ์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการ เพราะว่าสถานการณ์แต่ละสถานการณ์นั้นมีความแตกต่างกันไป เราไม่สามารถนำวิธีการใดที่ใช้ได้ผลกับสถานการณ์หนึ่งไปใช้กับอีกสถานการณ์ที่ต่างกันไปได้ ดังนั้นการฝึกฝนพัฒนาทักษะการคิด (Thinking Skills) จึงจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในสถานการณ์อย่างถ่องแท้ เพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดอย่างเป็นระบบ และสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยคำนึงผลกระทบที่ตามมา

    วัตถุประสงค์
    เพื่อพัฒนาทักษะด้านการบริหารและการจัดการ
    เพื่อศึกษาขั้นตอนและวิธีการวิเคราะห์ปัญหาและการตัดสินใจที่ถูกต้องและดีที่สุด

    หัวข้อการอบรม
    แนวคิดเบื้องต้นในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
    การวิเคราะห์สถานการณ์
    การวิเคราะห์ปัญหา
    การตัดสินใจ
    การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
    การแก้ปัญหาเป็นทีม
    การแก้ปัญหาในการปฏิบัติจริง
    กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงในกลุ่มของผู้เข้าอบรม
    กลุ่มเป้าหมาย
    บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร ป้องกันปัญหาให้กับองค์กร
    วิศวกร
    พนักงานระดับหัวหน้างาน
    พนักงานระดับปฏิบัติการ
    ผู้เกี่ยวข้องที่สนใจ
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Problem Solving and Making Decision
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร 7 Wastes Reduction (Quality Improvement Program)

    หลักสูตร 7 Wastes Reduction (Quality Improvement Program)

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     โลกแห่งการแข่งขันในทางธุรกิจ มีสถานการณ์ต่าง ๆ มากมายที่ต้องเผชิญ เรื่องหนึ่งที่เป็นส่วนสำคัญในการบริหารจัดการองค์กร คือ การจัดการกับความสูญเสียในองค์กรที่ไม่พึงประสงค์ เพื่อให้องค์กรมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดได้มากขึ้น ด้วยต้นทุนในการทำงานที่เหมาะสม   
                ในกระบวนการทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิต กระบวนการให้บริการ กระบวนการสำนักงาน กระบวนการ โลจิสติกส์ จะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยมุ่งเน้นที่การกำจัดความสูญเปล่าทั้งเจ็ดประการออกไปจากกระบวนการ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้รวดเร็ว ยืนหยุ่นและถูกต้องตามที่ลูกค้าต้องการ ดังนั้นกิจกรรม 7 Wastes Reduction สามารถนำไปใช้ได้กับธุรกิจทุก
    ประเภท ไม่ว่าจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กก็ตาม ขอเพียงมีความรู้ที่ถูกต้องและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
    บริบทของธุรกิจมารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดอย่างเป็นระบบ และสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างถูกต้อง
    เหมาะสม โดยคำนึงผลกระทบที่ตามมา

    วัตถุประสงค์
    เพื่อการเรียนรู้ และตระหนักถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นในการทำงาน
    เพื่อให้เกิดความเข้าใจการสูญเสีย 7 ประการ และเทคนิคที่นำมาประยุกต์ใช้เพื่อลดความสูญเสีย
    เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน กระบวนการทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ

    หัวข้อการอบรม
    แนวคิดพื้นฐานของการเพิ่มผลผลิตให้องค์กร
    ความสูญเสีย 7 ประการที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต
    การสูญเสียจากการผลิตที่มากเกินไป (Overproduction)
    การสูญเสียจากการเก็บวัสดุคงคลัง (Inventory)
    การสูญเสียจากการขนส่ง (Transportation)
    ความสูญเสียจากการเคลื่อนไหว (Motion)
    ความสูญเสียจากกระบวนการผลิต (Processing)
    ความสูญเสียจากการรอคอย (Delay)
    ความสูญเสียจากการผลิตของเสีย (Defect)
    เทคนิคที่สามารถประยุกต์ใช้เพื่อลดความสูญเสีย 7 ประการ
    กลุ่มเป้าหมาย
    บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร ป้องกันปัญหาให้กับองค์กร
    วิศวกร
    พนักงานระดับหัวหน้างาน
    พนักงานระดับปฏิบัติการ
    ผู้เกี่ยวข้องที่สนใจ
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    7 Wastes Reduction
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร 8D Report Quality Improvement Program

    หลักสูตร 8D Report Quality Improvement Program

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     ในการทำงานทุกคนหรือองค์กรจะต้องประสบกับคำว่า “ปัญหา”ทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าใครหรือองค์กร
          ไหนจะมีปัญหามากหรือน้อย เร็วหรือช้า ที่ไหน อย่างไร แตกต่างกันออกไปเท่านั้น เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นจะ
          ต้องทำการแก้ปัญหาอย่างไรให้ได้ผลในทางปฏิบัติ ซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องหลักๆต้องรู้หลักการ ขั้นตอน และ
          สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา เพื่อแก้ปัญหาให้ตรงประเด็น ( Hit to The Point ) หรือที่เรียก
          กันทั่วไปว่า “เกาให้ถูกที่ แก้ให้ถูกจุด” และแก้ปัญหาแล้วไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำอีก(Corrective Action )
              การป้องกันการเกิดปัญหา ( Preventive Action )ด้วยมีเครื่องมือหรือหลักการแก้ปัญหาตั้งแต่อดีต
          จนถึงปัจจุบันอยู่หลายแนวคิด แต่ที่นิยมใช้กันมากในระยะหลังโดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต
          ชิ้นส่วนยานยนต์คือ 8D และ 5 Why Analysis


    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้เข้าใจหลักการและสามารถทำงานเป็นทีมในการแก้ไขปัญหา
    เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
    เพื่อให้ทราบถึงเทคนิคการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหา
    เพื่อทำให้เกิดกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

    หัวข้อการอบรม
    ปัญหา คืออะไร และทัศนคติในการมองปัญหาของผู้ที่ประสบความสำเร็จ VS ผู้ที่ประสบความล้มเหลว
    หลักการและขั้นตอนของการแก้ปัญหา  
    การลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหา Problem Solving ( Corrective Action , Preventive Action )
    ด้วยรายละเอียดหลักการ 8D ( D1-D8 )
    แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติจริงในการตอบ CAR ( Corrective Action Request ) ของลูกค้าด้วย 8D report
    กลุ่มเป้าหมาย
    บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร ป้องกันปัญหาให้กับองค์กร, วิศวกร และหัวหน้างานที่เกี่ยวข้อง
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    8D Report
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Root Cause Analysis (Quality Improvement Program)

    หลักสูตร Root Cause Analysis (Quality Improvement Program)

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

      เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงอย่างมีประสิทธิผล เป็นทักษะที่สำคัญประการหนึ่งในการบริหารงาน เพราะในการปฏิบัติงานไม่ว่าในตำแหน่งหน้าที่ใดจะต้องเผชิญกับปัญหา ที่ต้องดำเนินการแก้ ไขอยู่ตลอดเวลา การแก้ ปัญหาจำเป็นต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการที่เป็นระบบเริ่มตั้งแต่การกำหนดปัญหา การแยกแยะและค้นหาสาเหตุ การตั้งเป้าหมายเพื่อดำเนินการแก้ไขและการตั้งมาตรฐาน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำ ๆ เดิม ๆ ขึ้นอีก

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้เข้าใจหลักการ ในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
    เพื่อให้สามารถการนำเทคนิคการวิเคราะห์ การแก้ไข และป้องกันปัญหาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
    เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดซ้ำได้
    เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง

    หัวข้อการอบรม
    ความหมายของ “การวิเคราะห์รากของปัญหา”
    “การวิเคราะห์รากของปัญหา” กับข้อกำหนด ISO 9001: 2015
    เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์รากของปัญหาขั้นตอนหลักของการวิเคราะห์รากปัญหา (RCA)
    ขั้นตอนที่ 1: การกำหนดรายละเอียดของปัญหา (Define the Problem)
    ขั้นตอนที่ 2: การเก็บข้อมูล (Collect Data)
     ขั้นตอนที่ 3: การกำหนดสาเหตุที่เป็นไปได้ (Identify Possible Causes)
    ขั้นตอนที่ 4: การกำหนดสาเหตุที่แท้จริง (Identify Root Causes)
    ขั้นตอนที่ 5: ดำเนินการแก้ไขปัญหา (Fix the Problem)
    Workshop
    กลุ่มเป้าหมาย
    สำหรับผู้บริหาร ตัวแทนฝ่ายบริหารและคณะทำงานที่ต้องการนำหลักการไปประยุกต์ใช้ในองค์กร
    สำหรับผู้บริหาร ตัวแทนฝ่ายบริหารและคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาคุณภาพในทุกระดับการบังคับบัญชา
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Root Cause Analysis
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร QC 7 Tools Quality Improvement Program

    หลักสูตร QC 7 Tools Quality Improvement Program

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

               QC 7 Tools เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ทรงประสิทธิภาพมากในการแก้ปัญหาต่างๆตามแนวทางความสำเร็จด้านคุณภาพของอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (QC Story) เนื่องจากเป็นเครื่องมือที่สามารถรวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกิดขึ้นในระดับปฏิบัติการ     (Shop floor) ทั้งที่เป็นตัวเลขและเป็นคำพูดได้อย่างเห็นภาพโดยใช้ความรู้และความพยายามไม่มากนัก อันเป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง (Root Cause Analysis) ของปัญหา นอกจากนั้นการใช้เครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด ยังเป็นการฝึกนิสัยการแก้ปัญหาบนพื้นฐานของความจริงและการทำงานเป็นทีมรวมทั้งการนำเทคนิคการทำเสนอไปด้วยในตัว

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้เข้าใจแนวคิดในการมองปัญหา วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพ
    เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการใช้ QC 7 Tools และนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
    เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง

    หัวข้อการอบรม

    บทนำ (Introduction)แนวคิดและความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา
     วิธีทางสถิติ (Statistic Method)
    เทคนิคและขั้นตอนการใช้ QC 7 Tools
    แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet)
    กราฟ (Graph)
    ผังพาเรโต (Pareto)
    ผังเหตุและผล (Cause & Effect Diagram)
     ผังการกระจาย (Scatter diagram)
    ฮีสโตแกรม (Histogram)
    แผนภูมิควบคุม (Control Chart)
    Workshop
    กลุ่มเป้าหมาย

    บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร
    คณะทำงานกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ
    ฝ่ายพัฒนาคุณภาพในองค์กร
    วิศวกร
    หัวหน้างาน 
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม

    QC 7 Tools
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Why – Why Analysis (Quality Improvement Program)

    หลักสูตร Why – Why Analysis (Quality Improvement Program)

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    ปัจจุบันภารกิจของบุคลากรในโรงงาน นับวันจะเพิ่มมากขึ้นๆ อันเนื่องมาจากองค์กรต้องปรับตัวให้ทันสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้บุคลากรจำเป็นต้องบริหารและแก้ปัญหาในการทำงานซึ่งจะต้องวิเคราะห์ข้อมูลมากมายเพื่อการพิจารณา ดังนั้นการฝึกฝนทักษะการวิเคราะห์ปัญหา และมีกระบวนการคิดที่ถูกต้องสำหรับการจัดการงาน จึงเป็นเรื่องจำเป็นที่บุคลากรจะต้องมีความสามารถในเรื่องนี้การวิเคราะห์ปัญหาด้วยเทคนิค Why – Why Analysis เป็นการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริง (Root Cause) ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบหรือปัญหาต่างๆ ขึ้น (Effect) ด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบและเป็นขั้นตอน โดยไม่ให้เกิดสภาพปัญหาซ้ำซ้อนและไม่ด่วนสรุปว่าเกิดจากสาเหตุใด แต่พยายามค้นหาข้อเท็จจริงที่ถูกต้องและสอดคล้องกับปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะในกระบวนการทำงานภายในโรงงาน (Process in Factory)ทักษะการวิเคราะห์ปัญหาด้วย Why – Why Analysis เป็นพื้นฐานสำคัญและมีความเหมาะสมกับการแก้ปัญหาในโรงงานมาก การพัฒนาทักษะดังกล่าวส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ มีความเป็นระบบ มีขั้นตอนและมีเหตุผล สำหรับการบริหารงานแบบมืออาชีพ

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้เข้าใจหลักการ ในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
     เพื่อให้สามารถการนำเทคนิคการวิเคราะห์ การแก้ไข และป้องกันปัญหาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
    เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดซ้ำได้
    เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง

    หัวข้อการอบรม
    ปัญหาคืออะไร
    เทคนิค Why-Why Analysis สำหรับการแก้ปัญหา
    ขั้นตอนการแก้ปัญหาแบบ Why-Why Analysis
    กิจกรรมกลุ่ม
    วิเคราะห์ตัวอย่าง พร้อม PRESENT 
    กลุ่มเป้าหมาย
    สำหรับผู้บริหาร ตัวแทนฝ่ายบริหารและคณะทำงานที่ต้องการนำหลักการไปประยุกต์ใช้ในองค์กร
    สำหรับผู้บริหาร ตัวแทนฝ่ายบริหารและคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาคุณภาพในทุกระดับการบังคับบัญชา
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Why – Why Analysis
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • CQI-12: Special Process : Coating System Assessment

    CQI-12: Special Process : Coating System Assessment

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

                   ปัจจุบันผู้ผลิตยานยนต์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของกระบวนการพิเศษ จึงได้มีการกำหนดให้ Supplier แต่ละ Tier ใน Supply Chain ทำการ Implement CQI สำหรับกระบวนการพิเศษของแต่ละ Supplier รวมไปถึงกำหนดเป็น ข้อกำหนดใน Supplier Manual ซึ่ง  CQI-12 : Special Process : Coating System Assessment ก็เป็นหนึ่งในกระบวนการพิเศษที่ได้มีการ Implement ดังนั้นจึงมีความสำคัญและจำเป็นต้องให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานด้านนี้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เข้าใจในข้อกำหนดของ กระบวนการพิเศษ  CCQI-12 : Special Process : Coating System Assessment จนสามารถนำไปสู่การปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพให้ตรงตามข้อกำหนด ของ CQI- และตรงตามความต้องการของลูกค้า รวมไปถึงเป็นแนวทางในการสามารถนำไป Assessment ได้

          วัตถุประสงค์

    ผู้เข้าร่วมได้รับทราบถึงพื้นฐานความรู้ของวิธีการประเมินระบบการอบชุบด้วยความร้อนตามมาตรฐาน CQI – 12
    ผู้เข้าร่วมได้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับสร้าง หรือรักษาระบบการจัดการกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน สำหรับองค์กรด้านการผลิตและบริการด้านยานยนต์
    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม มาปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารกระบวนการชุบแข็ง เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า
    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม มาปรับปรุงกระบวนการชุบแข็งอย่างต่อเนื่อง เน้นการป้องกันข้อบกพร่องและลดการผันแปร ลดของเสียในห่วงโซ่อุปาทาน เพื่อสนับสนุนระบบบริหารคุณภาพการผลิตโดยรวม

            หัวข้อการอบรม
    1. Introduction and Overview
    2.Plating Process Assessment
     Section1: Management Responsibility and Quality Planning
     Section2: Floor and Material Handling Responsibility
    Section3: Pyrometry
    Section4: Job Audit
    Process Table A-Pretreatment (Aqueous)
    Process Table B-Pretreatment (Mechanical)
    Process Table C-Conversion Coatings
    Process Table D-Powder Coatings
    Process Table E-Spray Coatings
    Process Table F-Electrocoat
    Process Table G-Dip-Spin & All Zinc-Flake Application Methods
    Process Table H-Auto deposition
    Process Table I-Cure
    Process Table J-Anodizing and Hard Coat Anodizing
    Process Table I-Process Control and Testing Equipment Verification and Calibration
    กลุ่มเป้าหมาย 
    ผู้บริหาร , หัวหน้างาน , วิศวกร , ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ , ผู้ที่สนใจ
    ระยะเวลาในการอบรม  
    หลักสูตร 2  วัน (09.00 – 16.00 น.) (12 ชั่วโมง)
    การวัดผล   
    ผู้เข้าอบรมต้องเข้าอบรมเต็มเวลา 
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    CQI – 12
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร CQI-11 : Special Process : Plating System Assessment

    หลักสูตร CQI-11 : Special Process : Plating System Assessment

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

            ปัจจุบันผู้ผลิตยานยนต์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของกระบวนการพิเศษ จึงได้มีการกำหนดให้ Supplier แต่ละ Tier ใน Supply Chain ทำการ Implement CQI สำหรับกระบวนการพิเศษของแต่ละ Supplier รวมไปถึงกำหนดเป็น ข้อกำหนดใน Supplier Manual ซึ่ง  CQI-11 : Special Process : Plating System Assessment  ก็เป็นหนึ่งในกระบวนการพิเศษที่ได้มีการ Implement ดังนั้นจึงมีความสำคัญและจำเป็นต้องให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานด้านนี้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ
         เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เข้าใจในข้อกำหนดของ กระบวนการพิเศษ  CQI-11 : Special Process : Plating System Assessment   จนสามารถนำไปสู่การปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพให้ตรงตามข้อกำหนด ของ CQI  และตรงตามความต้องการของลูกค้า รวมไปถึงเป็นแนวทางในการสามารถนำไป Assessment ได้

    วัตถุประสงค์
    ผู้เข้าร่วมได้รับทราบถึงพื้นฐานความรู้ของวิธีการประเมินระบบการอบชุบด้วยความร้อนตามมาตรฐาน CQI – 11
    ผู้เข้าร่วมได้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับสร้าง หรือรักษาระบบการจัดการกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน สำหรับองค์กรด้านการผลิตและบริการด้านยานยนต์
    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม มาปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารกระบวนการชุบแข็ง เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า
    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม มาปรับปรุงกระบวนการชุบแข็งอย่างต่อเนื่อง เน้นการป้องกันข้อบกพร่องและลดการผันแปร ลดของเสียในห่วงโซ่อุปาทาน เพื่อสนับสนุนระบบบริหารคุณภาพการผลิตโดยรวม

    หัวข้อการอบรม
    1. Introduction and Overview
    2.Plating Process Assessment
    Section 1: Management Responsibility and Quality Planning
    Section 2: Floor and Material Handling Responsibility
    Section 3: Pyrometry
    Section 4: Job Audit
    Process Table A-Zinc and Zinc Alloy Plating
    Process Table B-Mechanical Plating
    Process Table C-Decorative Plating of Metal Substrates
    Process Table D-Decorative Plating of Plastic Substrates
    Process Table E-Electropolish and Chrome Flash
    Process Table F-Hard Chrome Plating
    Process Table G-Electroless Nickel
    Process Table H-Hydrogen Embrittlement Relief Process
    Process Table I-Process Control and Testing Equipment Verification and Calibration
    กลุ่มเป้าหมาย 
    ผู้บริหาร , หัวหน้างาน , วิศวกร , ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ , ผู้ที่สนใจ
    ระยะเวลาในการอบรม  
    หลักสูตร 2  วัน (08.00 – 17.00 น.) (12 ชั่วโมง)
    การวัดผล   
    ผู้เข้าอบรมต้องเข้าอบรมเต็มเวลา 
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    CQI – 11 
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร KPI and Balance Scorecard อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร KPI and Balance Scorecard อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     KPI and Balance Scorecard ถือเป็นเครื่องมือที่ถูกนำมาใช้ในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การ และได้รับการกล่าวถึงอย่างมากว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมทุกมิติที่เอื้อต่อความสำเร็จขององค์การได้แก่ มิติด้านการเงิน (Financial) ลูกค้า (Customer) กระบวนการปฏิบัติงานภายใน (Internal Business Process) การเรียนรู้และการเจริญเติบโตของพนักงาน (Learning and Growth) หากนำ 4 มิติ มาใช้ในการบริหารงานได้อย่างสมดุลย์จะส่งผลให้องค์การมีรากฐานที่แข็งแกร่ง ซึ่งเอื้อต่อการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคง

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานในหลักการ Balanced Scorecard เพื่อใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กร
    เพื่อให้ทราบถึงวิธีการสร้าง และกำหนดตัวชี้วัดสมรรถนะหลักของการปฏิบัติงาน รวมทั้งเป้าหมายที่ใช้ในการวัดผลตามหลักการ Balance Scorecard ให้สามารถเชื่อมโยงการประเมินผลดังกล่าวเข้ากับเป้าหมายขององค์กรต่อไป
    เพื่อให้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ในเรื่องตัวชี้วัด และระบบการประเมินผลร่วมกันเพื่อให้สามารถนำหลักการดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กับองค์กรได้

    หัวข้อการอบรม
    หลักการที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการทำงาน (Performance Evaluation)
    แนวคิด และหลักการของ Balanced Scorecard
    ความหมาย และความสำคัญของตัวชี้วัด (Performance Indicators)
    การกำหนดตัวชี้วัดหลัก (Key Performance Indicators) รวมทั้งเป้าหมาย น้ำหนักความสำคัญการกำหนดเกณฑ์การวัด และวิธีการประเมินผล
    การจัดทำ Balanced Scorecard และ Key Performance Indicators
    ตัวอย่างการจัดทำ Balanced Scorecard และ Key Performance Indicators
    ปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จ
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้บริหาร
    หัวหน้างาน 
    ฝ่ายบุคคล 
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    KPI and Balance Scorecard
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี