Tag: กฎหมายแรงงาน

  • ความปลอดภัยในการใช้งานเครื่องตอกเสาเข็ม อบรมด่วน

    ความปลอดภัยในการใช้งานเครื่องตอกเสาเข็ม อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     หมวด ๕ งานก่อสร้างที่มีเสาเข็มส่วนที่ ๑ เสาเข็ม


    ข้อ ๓๙  ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างซึ่งมีหน้าที่บังคับเครื่องตอกเสาเข็มได้รับการฝึกอบรมตามหลัก
               เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด
    ข้อ ๔๐   ในการประกอบ การติดตั้ง การทดสอบ การใช้ การซ่อมบำรุง และการตรวจสอบเครื่อง
              ตอกเสาเข็ม ให้นายจ้างปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะของเครื่องตอกเสาเข็มและคู่มือ
              การใช้งานที่ผู้ผลิตเครื่องตอกเสาเข็มกำหนดไว้ หากไม่มีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคู่มือ
              การใช้งานดังกล่าว ให้นายจ้างปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะหรือคู่มือการใช้งานที่
              วิศวกรได้กำหนดขึ้นเป็นหนังสือ
    ข้อ ๔๑ เครื่องตอกเสาเข็มที่นายจ้างจะนำมาใช้ต้องมีรายละเอียดคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้
                   (๑) โครงเครื่องตอกเสาเข็มต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๒
                   (๒) โครงเครื่องตอกเสาเข็มต้องสร้างด้วยโลหะที่มีจุดคราก (yield point) ไม่น้อยกว่า
                     ๒,๔๐๐  กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
                   (๓) โครงเครื่องตอกเสาเข็มต้องมีการยึดโยง ค้ำยัน หรือตรึงให้มั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย
                   (๔) คานติดตั้งรอกและฐานรองรับคานต้องสามารถรับน้ำหนักรอก ลูกตุ้ม และน้ำหนักเสา
                    เข็มรวม
                    กันโดยมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๕
                   (๕) รางเลื่อนเครื่องตอกเสาเข็มต้องสามารถรับน้ำหนักได้ไม่น้อยกว่าสองเท่าของน้ำหนัก
                    เครื่องตอกเสาเข็ม
                   ในกรณีที่ใช้เครื่องตอกเสาเข็มระบบดีเซลแฮมเมอร์ อุปกรณ์ที่ใช้ยึดกับโครงเครื่อง
                     ตอกเสาเข็มต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๖
               ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้จัดทำโครงสร้างเครื่องตอกเสาเข็มเอง จะต้องมีวิศวกรเป็นผู้
               ออกแบบคำนวณโครงสร้าง และกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะให้เป็นไปตามวรรคหนึ่ง
    ข้อ ๔๒ เมื่อติดตั้งเครื่องตอกเสาเข็มแล้วเสร็จ นายจ้างต้องจัดให้มีวิศวกรตรวจบันทึกวันเวลาที่
              ตรวจและผลการตรวจรับรองว่าถูกต้องเป็นไปตามข้อ ๔๑ แล้วจึงใช้เครื่องตอกเสาเข็มนั้น
              ได้ และให้จัดเก็บเอกสารผลการตรวจดังกล่าวไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้
              ตลอดเวลา
    ข้อ ๔๓ ให้นายจ้างจัดให้มีคู่มือการใช้เครื่องตอกเสาเข็มและคู่มือการใช้สัญญาณสื่อสารระหว่าง
              ผู้ปฏิบัติงานในการตอกเสาเข็ม ให้ลูกจ้างได้ศึกษาและปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการ
              ทำงาน
    ข้อ ๔๔ ให้นายจ้างจัดให้มีป้ายพิกัดน้ำหนักยกและป้ายแนะนำการใช้เครื่องตอกเสาเข็มไว้ที่จุด
              หรือตำแหน่งที่ผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็มเห็นได้ชัดเจน
    ข้อ ๔๕ ก่อนเริ่มทำการตอกเสาเข็มในแต่ละวัน ให้นายจ้างจัดให้มีผู้ควบคุมงานดำเนินการตรวจ
              สอบอุปกรณ์ รางเลื่อน แม่แรง และส่วนประกอบทั้งหมดของเครื่องตอกเสาเข็มให้อยู่ใน
              สภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย รวมทั้งตรวจสอบให้เครื่องตอกเสาเข็มติดตั้งอยู่บนพื้น
              ที่ที่มั่นคงแข็งแรง พร้อมทั้งบันทึกวันเวลาที่ตรวจสอบและผลการตรวจสอบ
              เพื่อให้นายจ้างเก็บเอกสารผลการตรวจสอบดังกล่าวไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจ
              สอบได้
    ข้อ ๔๗ การเคลื่อนย้ายเสาเข็ม ให้นายจ้างควบคุมดูแลให้เกิดความปลอดภัยแก่ลูกจ้างหาก
               มีการใช้ราง ให้วางรางเคลื่อนเสาเข็มให้ได้ระดับและมีหมอนรองรับที่มั่นคงแข็งแรง
               ในกรณีที่เคลื่อนย้ายเสาเข็มโดยวิธีอื่น ให้นายจ้างจัดให้วิศวกรหรือผู้ควบคุมงานกำหนด
               วิธีการเคลื่อนย้ายและควบคุมดูแลให้เกิดความปลอดภัย
    ข้อ ๕๐ ในบริเวณที่ตอกเสาเข็ม ให้นายจ้างดูแลไม่ให้มีสิ่งกีดขวางสายตาผู้บังคับเครื่องตอก
              เสาเข็มที่จะมองเห็นการทำงานตอกเสาเข็ม
    ข้อ ๕๑ ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการป้องกันมิให้ควันไอเสียของเครื่องตอกเสาเข็มฟุ้งกระจาย
              เป็นอันตรายต่อลูกจ้าง หรือจัดให้มีระบบระบายอากาศเสียออกจากบริเวณนั้น
    ข้อ ๕๒ ในกรณีที่มีการติดตั้งหรือเคลื่อนย้ายเครื่องตอกเสาเข็มใกล้สายไฟฟ้า นายจ้างต้องปฏิบัติ
              ให้เป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้าในท้องถิ่นนั้น กรณีที่ไม่มีมาตรฐานดังกล่าวให้
              ปฏิบัติตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    ข้อ ๕๔ ในการใช้เสาเข็มที่มีรูกลวงตรงกลางด้านในขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ ๑๕ เซนติเมตร
              ขึ้นไป เมื่อทำการตอกเสาเข็มเสร็จแต่ละหลุม ให้นายจ้างจัดให้มีการปิดปากรูเสาเข็ม
              โดยทันทีด้วยวัสดุที่มีความแข็งแรงสามารถป้องกันมิให้สิ่งของหรือผู้ใดตกลงไปในรูได้
              ในการซ่อมแซมเครื่องตอกเสาเข็มระบบไอน้ำ ระบบลม หรือระบบไฮดรอลิค นายจ้างต้อง
              จัดให้มีการลดแรงดันของเครื่องตอกเสาเข็มให้อยู่ในระดับปลอดภัยก่อน ส่วนการซ่อมแซม
              เครื่องตอกเสาเข็มระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในหรือระบบดีเซลแฮมเมอร์ให้ดับ
              เครื่องยนต์เสียก่อน
    ข้อ ๕๗ งานเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ ๗๐ เซนติเมตร ขึ้นไป
               ให้นายจ้างจัดให้มีวิศวกรซึ่งมีประสบการณ์ด้านปฐพีวิศวกรรมประจำสถานที่ก่อสร้าง
               ตลอดเวลาทำงานของลูกจ้าง และลูกจ้างซึ่งทำงานต้องมีความชำนาญงานเสาเข็มเจาะ
                ขนาดใหญ่
    ข้อ ๖๑ ให้นายจ้างจัดให้มีวิศวกรควบคุมดูแลการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มโดย
              จัดให้มีการตรวจสอบวิธีการ ขั้นตอน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบตามที่วิศวกรกำหนด
              เช่น แม่แรง มาตรวัด การยึดกับเสาเข็มสมอ แท่นรับน้ำหนักบรรทุก คานที่ใช้ทดสอบ โดย
              แสดงรายการคำนวณความแข็งแรงของอุปกรณ์ทดสอบทั้งหมดให้สามารถรับน้ำหนัก
              ทดสอบได้อย่างปลอดภัย
              ผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็ม ต้องทำหน้าที่ควบคุมรถปั้นจั่นตอกเสาเข็มและทำการตอกเสาเข็มให้มีคุณภาพตามมาตรฐานตามที่กำหนด ประกอบกับพนักงานตอกเสาเข็มต้องใช้ทั้งทักษะฝีมือและความชำนาญสูง ต้องมีความรู้ในการใช้รถปั้นจั่นตอกเสาเข็มที่ถูกต้องและปลอดภัยในการทำงาน ในขณะเดียวกัน ถ้าผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็มขาดความรู้ ขาดทักษะความชำนาญ ไปทำงานเกี่ยวกับการตอกเสาเข็มก็อาจทำให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต และทรัพย์สินได้ ซึ่งอาจจะส่งผลถึงความมั่นคงแข็งแรงของฐานรากงานก่อสร้างด้วย

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับเครื่องตอกเสาเข็มมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับงานเสาเข็ม 
    เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็ม
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงอันตรายและเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามขั้นตอนการทำงาน    

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการอบรม
    กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มและกฎหมายความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง 
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑
    ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า 
    ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และ รอก พ.ศ. ๒๕๕๓
    ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการทำงานเกี่ยวกับ เครื่องตอกเสาเข็มระบบไอน้ำ ระบบลม ระบบไฮดรอลิค ระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน ระบบดีเซล แฮมเมอร์หรือระบบอื่น พ.ศ. ๒๕๕๒
    มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย 
    เสาเข็มและเครื่องตอกเสาเข็มชนิดต่างๆ 
    การใช้สัญญาณมือกับเครื่องจักรกลหนัก
    ความปลอดภัยในงานตอกเสาเข็ม  
    ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ช่วยยก 
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ที่ปฎิบัติงานเกี่ยวกับงานตอกเสาเข็ม 
    ผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็ม
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  1 วัน
    การวัดผล
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    ความปลอดภัยในการใช้งานเครื่องตอกเสาเข็ม

    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั่นจั่น

    หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั่นจั่น

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นตามประกาศเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นและการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2554 กำหนดให้หลักสูตรการอบรมการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นต้องมีหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกอบรมดังต่อไปนี้   
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    หลักการการตรวจสอบปั้นจั่นเบื้องต้นก่อนใช้งาน
    ความปลอดภัยในการใช้งานปั้นจั่นกรณีที่นำปั้นจั่นชนิดหรือประเภทที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
    เทคนิคการการสอบสวนอุบัติเหตุและการวิเคราะห์อุบัติเหตุ
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นตามเงื่อนไขของกฎหมาย
    เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการอบรม
    ทฤษฏี
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นทั่วไป
    ความปลอดภัยในการใช้งานปั้นจั่น กรณีที่นำปั้นจั่นชนิดหรือประเภทที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
    การใช้สัญญาณมือ, วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย, การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    การเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นและความสูญเสียรวมทั้งนำผลการสอบสวนอุบัติเหตุมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนป้องกัน
    ปฏิบัติ 2 ชม
    กรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่นและความสูญเสียรวมทั้งนำผลการสอบสวนอุบัติเหตุมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนป้องกัน
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้บังคับผู้ควบคุมปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณและผู้ยึดเกาะวัสดุ ผู้ปฎิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
    สถานประกอบกิจการที่มีสถิติอุบัติเหตุสูงขึ้นหรือเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงเกี่ยวกับปั้นจั่นในสถานที่ทำงาน
    สถานประกอบกิจการที่มีการนำปั้นจั่นชนิดหรือลักษณะที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร 6 ชม. ทฤษฏี 4 ชม.ปฏิบัติ 2 ชม.
    การวัดผล
    ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องสอบผ่านคะแนนภาคทฤษฎีไม่น้อยร้อยละ 80 และภาคปฎิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรมตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ.2564
    ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุหรือ ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นและการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ.2554

  • อบรมหลักสูตร ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น 20ท่าน/รุ่น (หลักสูตร 2 วัน 12 ชั่วโมง) Crane Supervisor

    อบรมหลักสูตร ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น 20ท่าน/รุ่น (หลักสูตร 2 วัน 12 ชั่วโมง) Crane Supervisor

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้าง ซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการอบรมหลักสูตรการ ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2554 ทั้งนี้เพื่อให้สถานประกอบกิจการได้จัดให้พนักงานที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติหน้าที่ในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นได้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กฎหมายกำหนดไว้
    ทฤษฎี 9 ชม.
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
    บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
    ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
    การใช้สัญญาณมือ
    การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก
    วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    ปฏิบัติ 3 ชม.
    การทดสอบภาคปฏิบัติเสมือนจริงซึ่งต้องมีการทดสอบการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย
    วัตถุประสงค์:
    เพื่อให้พนักงานที่ปฎิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับปั้นจั่นได้เข้ารับการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่กฎหมายกำหนดไว้     
    เพื่อให้ทราบถึงลักษณะชนิด มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    เพื่อให้ทราบถึงลักษณะชนิดและประเภทของปั้นจั่นที่ใช้สำหรับงานก่อสร้างและงานในโรงงานอุตสาหกรร
    เพื่อให้ทราบถึงลักษณะชนิดเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ อุปกรณ์ยก และ การเลือกใช้ การตรวจสอบอุปกรณ์
    เพื่อให้ทราบถึง การใช้สัญญาณมือ ให้ถูกต้องตาม ชนิดของปั้นจั่น
    เพื่อให้นายจ้างได้ปฎิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ.2564

    วันที่ฝึกอบรม

    สถานที่ฝึกอบรม

    จังหวัด

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    ราคา/ ท่าน

    ลงทะเบียน

    13,14 มกราคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 กุมภาพันธ์ 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    10,11 มีนาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    21,22 เมษายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    15,16 พฤษภาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    6 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    ยืนยัน ฝึกอบรม

    4,5 มิถุนายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    3,4 กรกฎาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    14,15 สิงหาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    9,10 กันยายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 ตุลาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    6,7 พฤศจิกายน 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    11,12 ธันวาคม 2568

    ศูนย์ฝึก อบรม ISTE

    บ้านบึง ชลบุรี

    30 / 30 ท่าน

    2,500 บาท

    สำรองที่นั่ง โทรเลย

    ราคา Training In-House

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน”

    25,500 B

    24,500 B.

    20 ท่าน /รุ่น

    หลักสูตร ภาษาอังกฤษ

    หลักสูตร

    ราคาปกติ

    ราคาสมาชิก

    จำนวนผู้เข้าอบรม

    Safety Officer Supervisory level

    65,000 บาท

    60,000 บาท

    20 ท่าน/รุ่น

    หัวข้อการฝึกอบรม 
    วันที่ 1 ของการฝึกอบรม
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ.2564
    มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่และอุปกรณ์ยก
    บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
    ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
    วันที่ 2 ของการฝึกอบรม
    ความรู้พื้นฐานกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยฯและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ พ.ศ. 2564
    มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือกลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
    บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
    ความปลอดภัยในการทํางาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
    ระบบสัญญาณเตือนและ Limit switch
    การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก
    วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย
    การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
    การทดสอบภาคปฏิบัติเสมือนจริง ซึ่งต้องมีการทดสอบการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับปั้นจั่น
    ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่นประเภทปั้นจั่นชนิดติดตั้งอยู่กับที่
    ระยะเวลาในการอบรม 
    หลักสูตร 2 วัน