Tag: หลักสูตรสารเคมี

  • หลักสูตร การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน อบรมออนไลน์

    หลักสูตร การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย 30 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน อบรมออนไลน์

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    Job Safety Analysis หรือ JSA จัดเป็นเทคนิคพื้นฐานของการทำงานอย่างปลอดภัย และเป็นที่มาของประเมินความเสี่ยงประเภท เพื่อสร้างความเข้าใจให้สอดคล้องกับหลักการทั้งหมด เพื่อเพิ่มทักษะ ความรู้ให้กับหัวหน้างาน ผู้จัดการ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องในการกำหนดการปฏิบัติตามมาตรฐานการทำงานอย่างปลอดภัย โดยใช้เทคนิคและหลักการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย อันจะเป็นแนวทางและวิธีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานต่อไป ดังนั้นในหลักสูตรนี้ จึงเน้นสร้างความเข้าใจให้สอดคล้องกับหลักการทั้งหมด เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจ อย่างเฉพาะเจาะจงให้กับหัวหน้างาน ผู้จัดการ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในกาทำงานระดับวิชาชีพ และผู้ที่เกี่ยวข้องในการกำหนด และปฏิบัติตามมาตรฐานการทำงานอย่างปลอดภัย
    Jo
    วัตถุประสงค์
    ผู้เข้ารับการอบรมทราบขั้นตอน วิธีการ และเทคนิคของการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
    ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ และความสามารถประเมินความเสี่ยงได้
    เพื่อตระหนักให้ผู้เข้าอบรม มีการประเมินความเสี่ยงก่อนเริ่มงาน 

    หัวข้อการอบรม 
    ความหมายและความสำคัญของ (JSA)
    ความแตกต่างและความหมายของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
    INCIDENT อุบัติการณ์
    ACCIDENT อุบัติเหตุ
    NEAR MISS เหตุการณ์ที่เกือบจะเกิดอุบัติเหตุ
    วิธีการวิเคราะห์งาน และขั้นตอนการทำงานเพื่อความปลอดภัย (ฝึกปฎิบัติ)
    เทคนิคการชี้บ่งอันตรายและการเลือกใช้อย่างเหมาะสม
    กลุ่มเป้าหมาย
    พนักงาน, หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชาระดับผู้จัดการ  
     ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร 6 ชม. ทฤษฏี 6 ชม.
    การวัดผล
    ผู้เข้าร่วมการอบรมจะต้องเข้าร่วมการอบรม 100 % ของระยะเวลาการอบรม 
    การฝึกอบรม

    การบรรยาย และกิจกรรมกลุ่ม (Workshop)
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงาน Hot Work งานความร้อนและประกายไฟ 40 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน

    หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงาน Hot Work งานความร้อนและประกายไฟ 40 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    การทำงานหรือปฏิบัติงานกับความร้อนประกายไฟถือเป็นงานที่มีอันตรายสูง  รวมถึงการ
            ปฏิบัติงานที่อาจผิดพลาด ผิดขั้นตอน และยังอาจมีผู้ร่วมปฏิบัติงานด้วยจำนวนมาก ซึ่งการผิด
            พลาดของคนหนึ่งอาจทำให้อีกคนหนึ่งได้รับอันตรายที่รุนแรงได้ และยังไม่มีมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
            กับความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานให้ใช้งาน งานเสี่ยงอันตราย (Hazadous Work)
            งานที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ หรืออันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน หรือเพื่อนร่วมงานสูงหรืองานที่อาจก่อ
            ให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย ได้แก่งานที่มีลักษณะดังนี้ การทำงานที่ก่อให้เกิดความร้อน (Hot Work)
            หมายถึง งานที่ทำให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟขณะปฏิบัติงาน เช่น งานตัดและเชื่อมโลหะด้วย
            เครื่องเชื่อมไฟฟ้า หรือเชื่อมแก๊ส และงานที่ต้องใช้เครื่องเจียรนัย เป็นต้น
            การทำงานบริเวณที่อับอากาศ หมายถึง การทำงานบริเวณที่มีออกซิเจนต่ำ มีการสะสมของ
            สารไวไฟ . ลักษณะงานอื่นๆ ทั่วไปที่เห็นว่ามีอันตราย (General)
            ทำงานบนที่สูงเกิน 3 เมตร,งานเกี่ยวกับระบบท่อมีความดันสุง ท่อไอน้ำ ท่อสารเคมี หรือสาร
            ไวไฟ, งานฉายรังสี (X-ray) งานก่อสร้าง,การซ่อม บำรุงเครื่องจักร บริเวณที่มีอันตรายหรือ
            เครื่องจักร อื่นยังไม่หยุด การทำงานบริเวณที่มีเสียงดัง ความดันสูง เกิดการสั่นสะเทือนมาก
            หรือมีสารเคมีอันตราย ผู้ปฎิบัติงานจะต้องมีความเข้าใจ และ ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ เพื่อก่อให้เกิด
            ความปลอดภัยในการทำงานกับทุกคน

    วัตถุประสงค์:

    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงอันตรายของงานที่มีความร้อนประกายไฟ และสามารถป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นนั้นได้
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทราบวิธีการทำงานเกี่ยวกับงานที่มีความร้อนประกายไฟ
    เพื่อเป็นการทำให้สถานที่ปฏิบัติงานมีความปลอดภัยสำหรับผู้ปฏิบัติงาน HOT WORK
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถประเมินความเสี่ยงของงานที่มีความร้อนประกายไฟ

    หัวข้อการอบรม

    พระราชบัญญัติความความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554
    กฎกระทรวง (กระทรวงแรงงาน) กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานในที่อับอากาศ พ.ศ. 25ุ62
    กฎกระทรวง (กระทรวงแรงงาน) เรื่อง กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549
    กฎกระทรวง (กระทรวงแรงงาน) กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551
    กฎกระทรวง (กระทรวงแรงงาน) กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อนํ้า พ.ศ. 2564
    ความปลอดภัยในการทำงาน ตัด ประกอบ เชื่อม เจียร
    การตรวจสอบสภาพอุปกรณ์พร้อมใช้งาน
    การขอใบอนุญาตการทำงาน Work permit
    ข้อบังคับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
    คู่มือความปลอดภัยในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับความร้อน (Hot Work)
    กลุ่มเป้าหมาย

    ผู้ปฎิบัติงานเกี่ยวกับงาน HOT WORK ตัด เชื่อม เจียร ประกอบ 
    ระยะเวลาในการอบรม  
    หลักสูตร 1  วัน ( ภาคทฤษฎี 6 ชั่วโมง ) 9.00-16.00 
    การวัดผล
    ผู้เข้าร่วมการอบรมจะต้องเข้าร่วมการอบรม 100% ของระยะเวลาการอบรม
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม

    กฎกระทรวง กฎหมายแรงงาน
    การบรรยาย และกิจกรรมกลุ่ม (Workshop)
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรกฎหมายสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ อบรมด่วน อบรมออนไลน์

    หลักสูตรกฎหมายสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ อบรมด่วน อบรมออนไลน์

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    กฎหมายสิ่งแวดล้อม คือ กฎหมายประเภทหนึ่ง ตราขึ้นเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เนื้อหาครอบคลุมการป้องกันและเยียวยาความเสื่อมโทรมของมนุษย์และอมนุษย์ และมักคาบเกี่ยวกับกฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย ฯลฯ หลากชนิด กฎหมายสิ่งแวดล้อมของบางประเภทอาจกำหนดคุณภาพสิ่งแวดล้อม และจำกัดเงื่อนไขในการดำเนินกิจการบางประเภทของมนุษย์ เช่น กำหนดปริมาณของภาวะมลพิษที่จะให้มีได้ หรือกำหนดให้ต้องมีการวางแผนและการตรวจสอบกิจการบางอย่าง เป็นต้น  การจัดทำระบบการจัดการด้านสงิ่ แวดล้อม ISO 14001 และระบบความปลอดภัย OHSAS 18001 มี ความจำเป็นที่จะต้อง มีบุคคลากรที่มีความรู้ค วามเข้า ใจที่ถูกต้องในการประยุกตใช้กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับการจัดทำระบบ อีกทั้งเพื่อเป็นการป้องกันการดำเนินที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย 

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมถึงกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการประกอบกิจการด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ สามารถเข้าใจในสาระสำคัญที่ต้องนำไปปฏิบัติ และเพื่อสอดคล้องกับข้อกำหนดของ ISO14001
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจโครงสร้างและลำดับของกฎหมายไทย

    หัวข้อการอบรม 
    พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
    กฎหมายสิ่งแวดล้อม
     โครงสร้างและลำดับของกฎหมาย
    ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับข้อกำหนด
    กฎหมายมลพิษทางน้ำ, อากาศ
    กฎหมายสารเคมีและวัตถุอันตราย
    กฎหมายพลังงาน
    กฎหมายด้านความปลอดภัย
    กฎหมายการจัดการของเสีย วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 
    กลุ่มเป้าหมาย

    หัวหน้างาน , เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
    ผู้บริหาร คณะทำงาน,  ISO 14001/OHSAS 18001,EMR, OHSMR
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  1  วัน (09.00 – 16.00 น.) ทฤษฎี 6 ชั่วโมง 
    การวัดผล
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
    พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
    พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 
    กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะของไทย กฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร การปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในองค์กร 40 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน อบรมออนไลน์

    หลักสูตร การปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในองค์กร 40 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน อบรมออนไลน์

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    พลังงาน คือปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน ในส่วนการผลิตและ การใช้พลังงานก่อให้เกิดต้นทุนอย่างหนึ่งที่ผู้ใช้จำเป็นต้องจ่ายเช่น ไฟฟ้า น้ำ ลม ฯลฯ ถ้ามีการใช้อย่างไม่เหมาะสมก็จะต้องจ่ายมากกว่าที่ควร แต่การที่จะทำให้ผู้ใช้พลังงานมีความรู้สึกรับผิดชอบ และรับรู้ถึงความจะเป็นในการประหยัดคงมิใช่เรื่องง่าย ปัจจุบันโลกได้ให้ความสำคัญต่อการใช้พลังงานและปัญหาสิ่งแวดล้อมในการทำงานมากยิ่งขึ้น  ทำให้หลายประเทศได้มีการออกกฎหมาย เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือผู้ดำเนินการไม่มีความเข้าใจถึงเหตุและผลของการดำเนินงานจึงทำให้เกิดความละเลยต่อการปฏิบัติทำให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่างๆขึ้นมามากมาย การสร้าง“จิตสำนึกและความตระหนัก” จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่จะชักจูงให้ผู้ปฏิบัติงานเล็งเป็นความสำคัญและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นนำไปสู่การปฏิบัติที่เกิดประสิทธิผล

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในองค์กรแบบมีส่วนร่วม
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสร้างจิตสำนึกและความตระหนักการใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อมในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถบ่งชี้สภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจต่อผลกระทบของการใช้พลังงานได้อย่างถูกต้อง
    เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้เข้าอบรมมีการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงานและองค์กรอย่างต่อเนื่อง

    หัวข้อการอบรม 
    มาตรฐานสากลด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพลังงาน
    ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้พลังงาน
    การปกป้องสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมมลภาวะ
    การจำแนกประเภทของพลังงานที่ใช้ในองค์กร
    ผลกระทบและความสูญเสียของการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองในองค์กร
    แนวทางการประหยัดพลังงาน
    การสำรวจการใช้พลังงานและเสนอแนะแนวทางอนุรักษ์พลังงาน  (Workshop)
    กิจกรรมการสร้างจิตสำนึก
    กลุ่มเป้าหมาย
    พนักงานทุกระดับในองค์กร
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  1  วัน (09.00 – 16.00 น.)
    การวัดผล
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535
    องค์ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงาน
    การประหยัดพลังงานในสถานที่ทำงาน
    กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop และการนำเสนอผลงานกลุ่ม
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เครื่องจักรชนิดอื่น อบรม Pubilc 2,000 /ท่าน อบรมด่วน

    หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เครื่องจักรชนิดอื่น อบรม Pubilc 2,000 /ท่าน อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำพ.ศ. ๒๕๖๔
    “เครื่องจักร” หมายความว่า สิ่งที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้นสำหรับก่อกำเนิดพลังงาน เปลี่ยนหรือแปลงสภาพพลังงาน หรือส่งพลังงาน ทั้งนี้ ด้วยกำลังน้ำ ไอน้ำ เชื้อเพลิง ลม ก๊าซ ไฟฟ้า หรือพลังงานอื่น และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ์ ล้อตุนกำลัง รอก สายพาน เพลา เฟือง หรือสิ่งอื่นที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งเครื่องมือกล
    “เครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร” หมายความว่า ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ที่ออกแบบหรือติดตั้งไว้บริเวณที่อาจเป็นอันตรายของเครื่องจักร เพื่อช่วยป้องกันอันตรายแก่บุคคลที่ควบคุมหรืออยู่ในบริเวณใกล้เคียง
    “เครื่องปั๊มโลหะ” หมายความว่า เครื่องจักรที่ใช้สำหรับการปั๊ม ตัด อัด เฉือน หรือขึ้นรูปชิ้นส่วนโลหะหรือวัสดุอื่น 

    นายจ้างต้องดูแลให้ลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

    ข้อ ๑๓ ในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้าเครื่องเชื่อมก๊าซ หรือ เครื่องจักรชนิดอื่นที่อาจก่อให้เกิดอันตรายจำการใช้งานได้โดยสภาพ นายจ้างต้องใช้ลูกจ้างซึ่งผ่านการอบรม เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำงานที่ปลอดภัยในการทำงานของเครื่องจักร การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างอุปกรณ์ การตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ของเครื่องจักรนั้น โดยวิทยากรซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์การทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรแต่ละประเภทตามหลักสูตรที่อธิบดีประกาศกำหนด
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากเครื่องจักร
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ทราบถึงวิธีปฏิบัติงานกับเครื่องจักรได้อย่างปลอดภัย
    เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ ความปลอดภัยในการปฎิบัติงานกับเครื่องจักรกล
    เพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานสำหรับผู้ปฎิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักร 

    หัวข้อการอบรม 
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานกับเครื่องจักร เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเจีย เครื่องตัด เครื่องไสเครื่องตัดโลหะ เครื่อง CNC หรือเครื่องจักร
    กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง
    บทบาทหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร
    ประเภทของเครื่องจักร หลักการทำงานเพื่อความปลอดภัย
    สภาพแวดล้อมในการทำงานที่เป็นอันตรายต่อผู้ปฎิบัติงาน
    การตรวจสภาพของครื่องจักรความพร้อมก่อนการใช้งาน
    การป้องกันและการควบคุมอันตรายในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร
    การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ใช้งานเครื่องจักร  เครื่องกลึง  เครื่อง CNC 
    ผู้ปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องในการใช้เครื่องจักรภายในโรงงาน
    พนักงานทั่วไป, พนักงานใน Line ผลิต
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน หรือ หัวหน้างานควบคุมงาน 
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม

    หลักสูตร  1  วัน (08.00 – 17.00 น.) 
    การวัดผล

    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำพ.ศ. ๒๕๖๔
    ความปลอดภัยในการทำงานกับเครื่องจักร
    สิ่งที่ลูกค้าจะได้รับจากการอบรมหลักสูตร
    วุฒิบัตรของผู้เข้าอบรมหลักสูตร
    ความรู้ความสามารถนำไปประยุกใช้
    คู่มือประกอบการฝึกอบรม
    ใบประเมินวัดผลการทำข้อสอบก่อนอบรมและหลังอบรม
    รายงานการฝึกอบรมแบบรูปเล่ม 
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร 5ส. เพื่อการเพิ่มผลผลิต 40 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน อบรมออนไลน์

    หลักสูตร 5ส. เพื่อการเพิ่มผลผลิต 40 ท่าน/รุ่น อบรมด่วน อบรมออนไลน์

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    กิจกรรม 5ส ถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญ และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมการสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับหน่วยงาน เพราะเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีแล้ว พื้นที่ยังเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งจะส่งผลทำให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ และผลิตสินค้าได้คุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการ และหากได้ดำเนินกิจกรรมการเพิ่มผลผลิตควบคู่กันไปแล้วละก็จะยิ่งมีประโยชน์อย่างมากต่อบริษัท  เพราะจะทำให้ช่วยลดปัญหาความสูญเสียต่างๆ และยัง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้น และ ยกระดับการปฏิบัติงานให้ได้มาตรฐาน ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มกำไรให้กับบริษัท และเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเติบโตอย่างต่อเนื่องให้กับหน่วยงาน

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสร้างแนวคิดในการประยุกต์ใช้ 5ส. ในการสร้างคุณภาพต่องานที่ทำ
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสร้างจิตสำนึกและการหาวิธีการทำกิจกรรม 5ส. ในการทำงาน
    เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้เข้าอบรมในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงานและบริษัทอย่างต่อเนื่อ
    เพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงานให้กับผู้เข้าอบรม
    เพื่อให้คำแนะนำแก่ผู้เข้าอบรมในการปรับปรุงสภาพแวดล้อม และสร้างมาตรฐานที่ดีในการปฏิบัติงาน

    หัวข้อการอบรม
    หลักการ และความรู้เกี่ยวกับ 5ส.
    แนวคิดการเพิ่มผลผลิต
    การสร้างมาตรฐาน 5ส. มาตรฐานพื้นที่ทำงาน
    หลักการ 5ส. และขั้นตอนการดำเนินโครงการ
    การปรับปรุงพื้นที่ทำงานให้สอดคล้องกับหลักของ 5ส.
    การจัดทำเอกสารระบบ 5ส / การจัดทำมาตรฐาน 5ส.
    เทคนิคการตรวจประเมิน 5ส.
    การสร้างจิตสำนึกในการเพิ่มผลผลิต
    การประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อเพิ่มผลผลิต
    กลุ่มเป้าหมาย
    พนักงานทุกระดับ
    ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม 5 ส.
    ระยะเวลาในการอบรม  
    หลักสูตร 1  วัน  (09.00 – 16.00 น.)
     การวัดผล            
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผลการเข้าอบรม โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60   จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    การบรรยาย และกิจกรรมกลุ่ม (Workshop)
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 
    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานบนอาคารสูง 30 ท่าน/รุ่น

    หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานบนอาคารสูง 30 ท่าน/รุ่น

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    ตามรายงานสำนักงานสถิติแรงงานสาเหตุการตายอันดับ 1 ในอุตสาหกรรมการก่อสร้างและอันดับ 2 ในอุตสาหกรรมภาคประชาชน คือ การตกจากที่สูง ยิ่งนานวัน  ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ผู้ประสบเหตุหรือผู้ที่จะเข้าไปช่วยเหลือ หากขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์หรือขาดความชำนาญในการดำเนินงาน และขาดทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวเองและต่อผู้ประสบเหตุได้ การเรียนรู้ การฝึกทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ การทำความเข้าใจการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ และการใช้อุปกรณ์ป้องกันตกแบบต่างๆ ให้ถูกต้อง และ ปลอดภัย และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันได้ที่จะช่วยลดความสูญเสีย
    ที่เกิดจากอุบัติเหตุ และอุบัติภัยที่เกิดขึ้นได้

    วัตถุประสงค์ 
    เพื่อเพิ่มความชำนาญและความปลอดภัยให้แก่ผู้ทำงานที่มีความเสี่ยงจากการทำงานบนอาคารสูง
    เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และแนวทางการทำงานบนอาคารสูง
    เพิ่มพูลทักษะของผู้เข้าอบรม
    ผู้เข้าอบรมเข้าใจการใช้เครื่องมือและการใช้อุปกรณ์ป้องกันตกแบบต่างๆ ให้ถูกต้อง

    หัวข้อการอบรม
    ที่มาและความสำคัญของระบบ GHS
    ความปลอดภัยในการทำงานบนอาคารสูง
    หลักการชี้บ่งอันตรายในการทำงานบนอาคารสูง
    อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานบนอาคารสูง
    ระบบการไต่ขึ้นและลงในแนวดิ่ง
    วิธีการโรยตัวลงมาจากอาคารสูง
    การช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นในยามวิกฤต
    การฝึกปฎิบัติการโรยตัว 
    กลุ่มเป้าหมาย
    ช่างเช็คกระจก
    ผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการทำงานที่สูง
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  1 วัน 8 ชั่วโมง (08.00 – 18.00 น.) 
    การวัดผล
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    ความปลอดภัยในการทำงานบนอาคารสูง
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตรการจัดทำคู่มือและข้อบังคับความปลอดภัยในการทำงาน อบรมด่วน อบรมออนไลน์

    หลักสูตรการจัดทำคู่มือและข้อบังคับความปลอดภัยในการทำงาน อบรมด่วน อบรมออนไลน์

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    กฎกระทรวงแรงงานกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2549 ได้กำหนดเนื้อหาส่วนหนึ่งที่สำคัญยิ่งต่องานความปลอดภัยในการทำงาน ดังนี้
    ข้อ ๓ ให้นายจ้างจัดให้มีข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงานไว้ในสถานประกอบกิจการ
    ข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงานตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย เพื่อควบคุมมิให้มีการกระทำที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการทำงานทั้งนี้นายจ้างต้องจัดให้มีการอบรมและฝึกปฏิบัติจนกว่าลูกจ้างจะสามารถทำงานได้อย่างถูกต้องปลอดภัยรวมทั้งจัดวางระบบควบคุมกำกับดูแล โดยกำหนดให้เป็นหน้าที่รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับ 

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจในหลักการจัดทำคู่มือความปลอดภัย
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบขั้นตอนในการจัดทำเนื้อหาข้อบังคับและคู่มือ
    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถจัดทำมาตรการในการป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการทำงาน

    หัวข้อการอบรม
    กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
    เจตนารมณ์ของกฎหมายจัดทำข้อบังคับและคู่มือ
    เนื้อหาและขั้นตอนการจัดทำคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงาน
    รูปแบบ เทคนิคและวิธีการจัดทำข้อบังคับ
    ความแตกต่างของข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงาน
    การชี้บ่งอันตรายวิธีต่างๆและการประเมินความเสี่ยงเพื่อให้ได้มาตรการที่จะนำมาใช้จัดทำข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงาน
    Work Shop การจัดทำคู่มือ ขัอบังคับความปลอดภัยในการทำงาน
    เป้าหมาย
    ผู้บริหาร หัวหน้างาน คณะกรรมการความปลอดภัยฯ และผู้ที่สนใจ
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม
    หลักสูตร  1 วัน (09.00 – 16.00 น.)
    การวัดผล
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
     
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    การบรรยาย  
    เกม / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop และการนำเสนอผลงานกลุ่ม                                                                                                    
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร การเลือกใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลรุ่นละ 40 ท่าน อบรมด่วน อบรมออนไลน์

    หลักสูตร การเลือกใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลรุ่นละ 40 ท่าน อบรมด่วน อบรมออนไลน์

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    Course on Selecting Personal Safety Equipment คืออะไร?
    หลักสูตรนี้เป็นการฝึกอบรมเกี่ยวกับ
    “การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE) อย่างถูกต้องและปลอดภัย”
    เน้นให้พนักงานรู้จักประเภทของ PPE, วิธีเลือกใช้ให้เหมาะสมกับความเสี่ยง และการดูแลรักษา PPE เพื่อลดอุบัติเหตุในที่ทำงาน

    🎯 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
    ให้พนักงานรู้จักประเภทและคุณสมบัติของอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE)
    เข้าใจหลักการเลือก PPE ให้ตรงกับประเภทของงานและความเสี่ยง
    ฝึกทักษะการตรวจสอบ และดูแลบำรุงรักษา PPE อย่างถูกต้อง
    ลดอุบัติเหตุและสร้างความปลอดภัยในการทำงานอย่างยั่งยืน

    ⚙️ เนื้อหาหลักในคอร์ส
    ความหมายและความสำคัญของ PPE
    ประเภทของ PPE:
    หมวกนิรภัย (Helmet)
    แว่นตานิรภัย (Safety Glasses)
    หน้ากากป้องกันฝุ่น/สารเคมี (Respirator)
    ถุงมือป้องกัน (Gloves)
    รองเท้าเซฟตี้ (Safety Shoes)
    ชุดกันสารเคมี/กันไฟ (Protective Clothing)
    เข็มขัดนิรภัยและอุปกรณ์กันตก (Safety Harness)
    วิธีเลือก PPE ให้เหมาะสมกับลักษณะงานและความเสี่ยง
    การใช้งานที่ถูกวิธีและข้อควรระวัง
    วิธีดูแล ตรวจสอบ และเปลี่ยน PPE อย่างถูกต้อง
    กฎหมายและมาตรฐานความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง

    💡 ประโยชน์ที่องค์กรได้รับ
    พนักงานเลือกใช้ PPE ได้เหมาะสม ปลอดภัยจริง
    ลดอุบัติเหตุจากการใช้ PPE ไม่ถูกต้อง
    เสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
    สอดคล้องกับข้อกำหนด ISO 45001 / กฎหมายแรงงานไทย

    🔥 สรุปสั้น ๆ
    Course on Selecting Personal Safety Equipment
    คือหลักสูตรที่ช่วยให้พนักงานรู้จักเลือกและใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลได้ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพงานและความเสี่ยง ช่วยลดอุบัติเหตุ และเพิ่มความปลอดภัยในองค์กร
     อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal protective equipment) หรือ PPE เป็นมาตรการหนึ่งในการคุ้มครองความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน ในกรณีที่ไม่สามารถป้องกัน หรือระงับอันตรายทีเกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด และ ทางผ่านได้ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานที่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หรือเกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องทราบหลักการใช้งาน ชนิด ข้อจำกัด การเลือกใช้ ตลอดจนการดูแลรักษา อย่างถูกต้อง หลักสูตรนี้เน้นสร้างความเข้าใจให้สอดคล้องกับหลักการ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้ที่ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยใน การทำงาน

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมจะได้รับทราบถึงความหมาย และข้อกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมจะทราบถึงชนิดของ PPE ชนิดต่างๆ
    เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ PPE ได้อย่างถูกต้องและสวมใส่ได้เหมาะสมกับงาน

    หัวข้อการอบรม
    ความหมาย สาเหตุที่ต้องใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
    ชนิดของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
    มาตรฐานอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE)
             – มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
             – มาตรฐานสหภาพยุโรป (EN)
             – มาตรฐานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI)
             – มาตรฐานสำนักงานบริหารความปลอดภัย และอาชีวอนามัยแห่งชาติ
               กรมแรงงานประเทศสหรัฐอเมริกา(OSHA)
    กฎหมายที่กำหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE)
    วิธีการเลือกอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
    การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
    การบำรุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
     กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ปฏิบัติงาน/ พนักงาน
    หัวหน้างาน
    ผู้บริหาร
    เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
    คณะกรรมการความปลอดภัยฯ
    เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ และผู้สนใจทั่วไป
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม

    หลักสูตร  1 วัน (09.00 – 16.00 น.)
    การวัดผล
    ผู้เข้าอบรมต้องทำข้อสอบประเมินผล โดยผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70  จึงจะมีสิทธิ์ได้รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม

    เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ และผู้สนใจทั่วไป
    กฎหมายลูกจ้างแรงงาน
    มาตรฐานอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร : Kaizen เพื่อการเพิ่มผลผลิต อบรม Public 2,000 บาท/ท่าน อบรมด่วน

    หลักสูตร : Kaizen เพื่อการเพิ่มผลผลิต อบรม Public 2,000 บาท/ท่าน อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

    องค์กรของท่านยังทำงานที่เหนื่อยและหนัก แต่ยังได้ผลงานไม่คุ้มค่า มีการยึดติดกับวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ โดยไม่คิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอบรมพัฒนาพนักงาน หากเป็นเช่นนั่นแสดงว่าในองค์กรของท่านไม่ รู้จัก “ไคเซ็น”และไม่ได้นำไคเซ็นมาเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานในองค์กร ซึ่งหากองค์กรได้นำเอาวิธีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องมาใช้แล้วปัญหาในการทำงานจะเกิดความผิดพลาดน้อยลง
    ดังนั้น หลักสูตร “การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง ( KAIZEN)” จึงเป็นเหมือนเข็มทิศชี้ให้องค์กรของท่าน เห็นถึง การเพิ่มประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการผลิต แนวทางในการแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุงงาน  เพื่อหยุด  ลด และ เปลี่ยนแปลง วิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด เพราะไคเซ็นจะบอกให้ท่านรู้ว่ายังคงมี “เรื่องที่ควรทำแต่ยังไม่ได้ทำ” อยู่อีกมากในกระบวนการทำงานในองค์กรของท่าน เพื่อการปรับปรุงองค์กรของท่านอย่างสูงสุด 

    วัตถุประสงค์

    เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมองเห็นปัญหาและแนวทางการปรับปรุงงานแบบไคเซ็นด้วยตัวเอง เพื่อมาใช้ในองค์กรได้อย่างถูกต้องและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับองค์กร
    ผู้เข้าอบรมจะเข้าใจถึงหลักการและวิธีการในการปรับปรุงงานทั่วทั้งองค์กร ( KAIZEN)
    ผู้เข้าอบรมจะเข้าใจถึงเทคนิคและเครื่องมือที่จะช่วยให้การปรับปรุงงานแบบไคเซ็นให้ประสบผลสำเร็จและสามารถนำมาใช้กับองค์กรได้จริง

    หัวข้อการอบรม
    ไคเซ็น (Kaizen) คืออะไร?
    หลักการและข้อเสนอแนะเบื้องต้นของไคเซ็นในการปรับปรุงงาน
    ขั้นตอนและเครื่องมือในการปรับปรุงงาน
    เทคนิคในการมองปัญหาแนวทางในการแก้ไขที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด
    เทคนิค การเพิ่มผลผลิต แก้ไขปัญหาและวิธีการปรับปรุงงานโดยความคิดสร้างสรรค์
    Workshop ไคเซ็น (Kaizen)
    กลุ่มเป้าหมาย
    พนักงานทุกระดับ
    ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
    ระยะเวลาในการอบรม
    หลักสูตร 1 วัน ทฤษฏี 6 ชม.(09.00 – 16.00 น.) 
    การวัดผล  
    ผู้เข้าอบรมต้องเข้ารับการอบรมให้ครบจำนวนชั่วโมงเรียน หากไม่ครบจำนวนชั่วโมงที่กำหนดจะไม่ได้รับวุฒิบัตร
    Pretest – Post  test 

    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงาน ผู้ผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    การบรรยาย และกิจกรรมกลุ่ม (Workshop)
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี