Author: admin

  • หลักสูตร KPI and Balance Scorecard อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร KPI and Balance Scorecard อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     KPI and Balance Scorecard ถือเป็นเครื่องมือที่ถูกนำมาใช้ในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การ และได้รับการกล่าวถึงอย่างมากว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมทุกมิติที่เอื้อต่อความสำเร็จขององค์การได้แก่ มิติด้านการเงิน (Financial) ลูกค้า (Customer) กระบวนการปฏิบัติงานภายใน (Internal Business Process) การเรียนรู้และการเจริญเติบโตของพนักงาน (Learning and Growth) หากนำ 4 มิติ มาใช้ในการบริหารงานได้อย่างสมดุลย์จะส่งผลให้องค์การมีรากฐานที่แข็งแกร่ง ซึ่งเอื้อต่อการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคง

    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานในหลักการ Balanced Scorecard เพื่อใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กร
    เพื่อให้ทราบถึงวิธีการสร้าง และกำหนดตัวชี้วัดสมรรถนะหลักของการปฏิบัติงาน รวมทั้งเป้าหมายที่ใช้ในการวัดผลตามหลักการ Balance Scorecard ให้สามารถเชื่อมโยงการประเมินผลดังกล่าวเข้ากับเป้าหมายขององค์กรต่อไป
    เพื่อให้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ในเรื่องตัวชี้วัด และระบบการประเมินผลร่วมกันเพื่อให้สามารถนำหลักการดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กับองค์กรได้

    หัวข้อการอบรม
    หลักการที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการทำงาน (Performance Evaluation)
    แนวคิด และหลักการของ Balanced Scorecard
    ความหมาย และความสำคัญของตัวชี้วัด (Performance Indicators)
    การกำหนดตัวชี้วัดหลัก (Key Performance Indicators) รวมทั้งเป้าหมาย น้ำหนักความสำคัญการกำหนดเกณฑ์การวัด และวิธีการประเมินผล
    การจัดทำ Balanced Scorecard และ Key Performance Indicators
    ตัวอย่างการจัดทำ Balanced Scorecard และ Key Performance Indicators
    ปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จ
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้บริหาร
    หัวหน้างาน 
    ฝ่ายบุคคล 
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    KPI and Balance Scorecard
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร 6 Big Losses Productivity Program อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร 6 Big Losses Productivity Program อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

               ทฤษฎีที่ว่าด้วยเรื่องของความสูญเสียหลักที่สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ลักษณะ หรือที่เราเรียกว่า 6
          Big Losses นั้นคือ ความสูญเสีย 6 ประการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของเครื่องจักร  ซึ่งสาเหตุที่ทำให้
          เราต้องเรียนรู้เรื่องของความสูญเสียเหล่านี้ก็เนื่องมากจาก ความสูญเสียต่างๆ ได้แก่ เป็นสาเหตุที่ทำให้
          ประสิทธิภาพการทำงานและอายุการใช้งานของเครื่องจักรในองค์กรด้อยลง และมีความอันตรายต่อการใช้
          งานมากขึ้น   หากท่านเป็นผู้หนึ่งที่ต้องทำงานร่วมกับเครื่องจักร เราคงต้องการทำงานกับเครื่องจักรที่เรา
          ทราบนิสัยใจคอ การมีความรู้เรื่องทฤษฎีที่ว่าด้วยเรื่องของความสูญเสีย 6 ประการนี้ นอกจากจากทำให้
          เราทราบพฤติกรรมเครื่องจักรที่เราทำงานอยู่ด้วยแล้ว ยังเป็นความรู้พื้นฐานในการหาแนวทางในการ
          ปรับปรุงเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผลิตแต่สินค้าที่มีคุณภาพ และผู้ทำงานกับเครื่องจักรก็มี
          ความปลอดภัยในการทำงานร่วมกับเครื่องจักรมากขึ้นอีกด้วย

          วัตถุประสงค์

    เพื่อเรียนรู้ความหมาย เข้าใจ ความสูญเสีย ในแต่ละประเภท ในความสูญเสียทั้ง 6 ประการ
    เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้กับการดูแลเครื่องจักรอย่างอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตลอดจนสามารถสร้างระบบการคงสภาพการดูแลเครื่องจักรได้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

    หัวข้อการอบรม
    แนวคิดและหลักการด้านการลดความสูญเสียเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
    แนวคิดการบำรุงรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (TPM)และความสูญเสียหลัก 6 ประการ (6 Big Losses)
    ประเภทความสูญเสียหลัก 6 ประการ
    ความสูญเสียประเภทที่ 1: ความขัดข้องของเครื่องจักร (Equipment Breakdown)
    ความสูญเสียประเภทที่ 2: การปรับตั้งเครื่อง (Setup & Adjustments)
    ความสูญเสียประเภทที่ 3: การหยุดของเครื่องจักรเล็กน้อย (Idling & Minor Stoppage)
    ความสูญเสียประเภทที่ 4: ความเร็วไม่ได้ตามที่กำหนด (Reduced Speed)
    ความสูญเสียประเภทที่ 5: ความสูญเสียจากของเสียที่เกิดขณะเริ่มเดินเครื่องจักร (Start–up Defects)
    ความสูญเสียประเภทที่ 6: ความสูญเสียจากการเกิดของเสียในกระบวนการผลิต (Production Defects)
    การคำนวณค่า OEE
    กลุ่มเป้าหมาย
    บุคลากรที่มีพื้นฐานด้านการจัดการ หรือวางแผนการทำงาน
    บุคลากรที่มีพื้นฐานด้านการบริหารจัดการเครื่องจักรในการผลิต
    วิศวกร
    บุคคลที่สนใจด้านการลดความสูญเสีย
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    6 Big Losses
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร 7 Wastes Reduction Productivity Program อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร 7 Wastes Reduction Productivity Program อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

     7 Wastes Reduction เป็นเครื่องมือหนึ่งสำหรับการกำจัดความสูญเสียและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องในกระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกิจกรรมหรืองานที่ดำเนินการ ในกระบวนการผลิตมักจะพบว่ามีความสูญเสียต่างๆแฝงอยู่ไม่มากก็น้อย ซึ่งเป็นเหตุให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงมีแนวคิดเพื่อพยายามจะลดความสูญเสียเหล่านี้เกิดขึ้นมากมาย และแนวคิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมคือการลดสูญเสียในการผลิตทั้ง 7 ประการนั่นเอง

    วัตถุประสงค์
    เพื่อการเรียนรู้ และตระหนักถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นในการทำงาน
    เพื่อให้เกิดความเข้าใจการสูญเสีย 7 ประการ และเทคนิคที่นำมาประยุกต์ใช้เพื่อลดความสูญเสีย
    เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน กระบวนการทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ

    หัวข้อการอบรม
    แนวคิดพื้นฐานของการเพิ่มผลผลิตให้องค์กร
    ความสูญเสีย 7 ประการที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต
    เทคนิคที่สามารถประยุกต์ใช้เพื่อลดความสูญเสีย 7 ประการ
    กลุ่มเป้าหมาย
    บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร
    วิศวกร
    หัวหน้างาน
    ผู้ที่สนใจ
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    7 Wastes Reduction
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Quality Control Circle (QCC) อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร Quality Control Circle (QCC) อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

                    องค์กรจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง “คุณภาพ” ในสินค้าและบริการมากขึ้น ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร และการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งการพัฒนาให้ได้มาซึ่งคุณภาพนั้นสามารถทำได้โดยการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วย “พนักงาน” ที่สามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ, การปรับปรุงกระบวนการทำงานและการเพิ่มผลผลิตให้กับองค์กร “การควบคุมคุณภาพด้วยกิจกรรมกลุ่ม QCC” ให้ประสบความสำเร็จ องค์กรต้องมีขั้นตอนดำเนินการตั้งแต่การจัดตั้งกลุ่ม การจดทะเบียนกลุ่ม การให้ความรู้และประโยชน์ของการทำกิจกรรม QCC. การสร้างกระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นระบบและขั้นตอน ตลอดจนสร้างระบบจูงใจให้พนักงาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม  นโยบายส่งเสริมที่ชัดเจนและสนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรมจากฝ่ายบริหารที่ส่งผลสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม
    วัตถุประสงค์
    เพื่อให้ทราบแนวคิดและเข้าใจหลักการของกิจกรรมกลุ่ม QCC และสามารถทำงานเป็นทีม
    เพื่อให้สามารถ บุราณการ กิจกรรม QCC ในการทำงานขององค์กรโดยทราบรายละเอียดแผนงาน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการส่งเสริมการดำเนินกิจกรรม
    เพื่อให้ดำเนินกิจกรรม QCC และมีทักษะในการดำเนินกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในงานที่ตนรับผิดชอบ

     หัวข้อการอบรม

    Quality Concept
    PDCA Cycle
    Quality Control Circle
    Root Cause Analysis
    Why Why Analysis
    QC 7 Tools
    QCC Meeting & Presentation
     กลุ่มเป้าหมาย

    บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร ป้องกันปัญหาให้กับองค์กร
     วิศวกร
    หัวหน้างาน
    ผู้ที่สนใจ
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Quality Control Circle (QCC)
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร VDA 6.3 – Qualification for Process Auditor อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร VDA 6.3 – Qualification for Process Auditor อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

                    หลักสูตรนี้ออกแบบมาสำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเป็นผู้ตรวจสอบกระบวนการ
          ที่ได้รับการรับรอง VDA 6.3 การตรวจสอบกระบวนการเป็นการตรวจสอบที่เชื่อมโยงระหว่างการตรวจ
          สอบระบบและการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถของ
          กระบวนการในการวางแผนการผลิตผลิตภัณฑ์และการให้บริการ
                  VDA (Verband der deutschenAutomobilindustrie E.V.) คือ สมาคมการค้าเยอรมันสำหรับ
          อุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นผู้จัดทำมาตรฐานการจัดการคุณภาพในอุสาหกรรมยานยนต์โดยกำหนดในชุด
          ของ VDA 6 ซึ่ง VDA 6.3 Process Audit เป็นส่วนหนึ่งในนั้นผู้ผลิตยานยนต์ในประเทศเยอรมนี ได้นำ
          VDA 6.3 มาใช้การตรวจประเมินผู้ส่งมอบในระดับต่างๆ (Tier I, Tier II, etc.) และคาดหวังให้ผู้ส่งมอบ
          ได้นำ VDA 6.3 มาตรวจประเมินตนเองและตรวจประเมินผู้ส่งมอบในระดับถัดไปด้วยเช่นกัน

           วัตถุประสงค์

    เพื่อเรียนรู้ และเข้าใจหลักการข้อมูลพื้นฐานทั่วไปสำหรับผู้ตรวจสอบกระบวนการ VDA 6.3
    บนพื้นฐานของวิธีการกระบวนการและความต้องการของลูกค้านั้นการฝึกอบรมนี้จะสอนพื้นฐานสำหรับการเป็นผู้ตรวจสอบกระบวนการตาม VDA 6.3
    เพื่อเรียนรู้ถึงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพื้นฐานของเทคนิคการตรวจสอบรวมถึงข้อกำหนดทั่วไปวิธีการหลักการและการวิเคราะห์ความเสี่ยง
    เพื่อให้ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์และนำไปใช้และลำดับความสำคัญในสิ่งที่จำเป็นในการตรวจสอบกระบวนการอย่างถูกต้อง
    เพื่อให้ทราบถึงคุณสมบัติสำหรับการนำการตรวจสอบกระบวนการภายในและภายนอกตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
    ช่วยให้การตรวจสอบกระบวนการนี้ในองค์กรของท่านและในห่วงโซ่อุปทานเพื่อระบุความเสี่ยงและเพิ่งศักยภาพให้กับองค์กรของท่าน

     หัวข้อการอบรม

    การเชื่อมต่อกับข้อกำหนด ISO 9001, IATF 16949 เป็นต้น
    ภาพรวมของการตรวจสอบประเภทต่างๆและการอธิบายความแตกต่าง
    ภาพรวม: เนื้อหาของแต่ละบท VDA 6.3
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีการกระบวนการสำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามแบบจำลองเต่า
    กระบวนการตรวจสอบจากโปรแกรมการตรวจสอบไปจนถึงความสมบูรณ์ของการตรวจสอบ
    การวางแผนและดำเนินการตรวจสอบกระบวนการ
    รูปแบบการประเมินผลของการตรวจสอบกระบวนการ
    เทคนิคการสัมภาษณ์สำหรับผู้ตรวจสอบกระบวนการ
     จรรยาบรรณสำหรับผู้ตรวจสอบกระบวนการ
    VDA 6.3 วงจรการตรวจสอบกระบวนการ
    การสรุปสั้น ๆ ของเนื้อหาสำคัญของ VDA 6.3
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 2 – การจัดการโครงการ
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 3 – การวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 4 – การตระหนักถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 5 – การจัดการซัพพลายเออร์
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 6 – การผลิตการวิเคราะห์กระบวนการ
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 7 – การบริการลูกค้า
    ภาพรวมของเนื้อหาของการวิเคราะห์ความล้มเหลวของขอบเขตข้อมูล VDA
    การจัดทำรายงานการตรวจสอบ การจัดทำเอกสาร ให้สมบูรณ์
    เนื้อหาขององค์ประกอบกระบวนการ 1 – การวิเคราะห์ที่มีศักยภาพ
    คำอธิบายของ SI ปัจจุบันและคำถามที่พบบ่อย
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้เข้าร่วมจากอุตสาหกรรมยานยนต์ รถยนต์และผู้ผลิตชิ้นส่วนเพื่อยานยนต์ ควรมีพื้นฐานข้อกำหนด ISO 9001 หรือ IATF 16949
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 2  วัน (09.00 – 16.00 น.) (12 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    VDA 6.3 – Qualification for Process Auditor
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร CQI – 9 Special Process Heat Treat System Assessment อบรมออนไลน์ อบรมด่วนอบรม Pubilc 5,500 ต่อ ท่าน

    หลักสูตร CQI – 9 Special Process Heat Treat System Assessment อบรมออนไลน์ อบรมด่วนอบรม Pubilc 5,500 ต่อ ท่าน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

                 สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ในอเมริกาเหนือ AIAG (Automotive Industry Action Group) เป็นผู้จัดทำ CQI-Standards (“CQI” = การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องซึ่งจัดทำโดย OEM และ Supplier เป้าหมายของ HTSA คือการพัฒนาระบบบริหารกระบวนการชุบแข็ง (Heat Treatment) ที่ให้การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเน้นการป้องกันข้อบกพร่องและการลดการผันแปรและของเสียในห่วงโซ่อุปทาน HTSA มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้แนวทางทั่วไปสำหรับระบบการจัดการกระบวนการชุบแข็ง (Heat Treatment) สำหรับองค์กรด้านการผลิตและบริการด้านยานยนต์

    วัตถุประสงค์
    ผู้เข้าร่วมได้รับทราบถึงพื้นฐานความรู้ของวิธีการประเมินระบบการอบชุบด้วยความร้อนตามมาตรฐาน CQI – 9
    ผู้เข้าร่วมได้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางสำหรับสร้าง หรือรักษาระบบการจัดการกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน สำหรับองค์กรด้านการผลิตและบริการด้านยานยนต์
    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม มาปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารกระบวนการชุบแข็ง เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า
    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม มาปรับปรุงกระบวนการชุบแข็งอย่างต่อเนื่อง เน้นการป้องกันข้อบกพร่องและลดการผันแปร ลดของเสียในห่วงโซ่อุปาทาน เพื่อสนับสนุนระบบบริหารคุณภาพการผลิตโดยรวม

    หัวข้อการอบรม
    แนะนำเบื้องต้น (Introduction)
    ใบปะหน้า (Cover Sheet)o   ข้อมูลพื้นฐานขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการอบชุบด้วยความร้อน
    (Basic data of the heat treatment organization)
    o   พื้นที่ที่ได้รับการตรวจติดตามอ้างอิงจากลำดับตารางกระบวนการ CQI – 9 
    (Audited areas according to the respective CQI-9 process table)
    o   ข้อมูลสำหรับการติดต่อ (ชื่อผู้ตรวจ, ชื่อบริษัท, ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง)
    (Contact data (auditor, company, participants))
    o   Results of the CQI audit (ผลลัพธ์ของการตรวจติดตามตามมาตรฐาน CQI)
    องค์ประกอบของการตรวจติดตามในส่วนที่ 1 – 3 (Audit Elements Paragraphs 1-3)o   ส่วนที่1: ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร และการวางแผนคุณภาพ
    (Paragraph 1: Management responsibility and quality planning)

    o   ส่วนที่ 2: ความรับผิดชอบในการดูแลจัดการวัตถุดิบและการไหลของวัตถุดิบ
    Paragraph 2: Responsibility for material flow and material handling

    o   ส่วนที่ 3: เครื่องมือ อุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐานในการอบชุบด้วยความร้อน
    (Paragraph 3: Heat treatment facility and equipment)

    o   ส่วนที่ 3.15: คำถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการอบชุบด้วยความร้อนโดยการเหนี่ยวนำด้วยไฟฟ้า
    (Paragraph 3.15: Additional questions concerning induction heat treatment)

    ส่วนที่ 4: การตรวจติดตาม Job งาน (Paragraph 4: Job Audit)
    o   ข้อมูลเบื้อต้นที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ที่ทำการตรวจติดต                                ตารางกระบวนการ A (Process Table A)
    ตารางกระบวนการ B (Process Table B)
    ตารางกระบวนการ C (Process Table C)
    ตารางกระบวนการ D (Process Table D)
    ตารางกระบวนการ E  (Process Table E)
    ตารางกระบวนการ F (Process Table F)
    ตารางกระบวนการ G (Process Table G)
    ตารางกระบวนการ H (Process Table H)
    กลุ่มเป้าหมาย
    สำหรับผู้ที่ทำหน้าที่ในการควบคุมกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน (Heat Treatment)
    บุคลากรในกิจกรรมการตรวจสอบ ทดสอบหลังกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน (Heat Treatment) ทั้งระหว่างกระบวนการและผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ผ่านกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน
    บุคลากรที่ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบภายในที่ต้องการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการอบชุบด้วยความร้อน (Heat Treatment)
    ผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบผู้จัดหาภายนอก ณ สถานที่ผลิต ที่ทำหน้าที่ให้บริการงานด้านอบชุบความร้อน (Heat Treatment) ให้กับองค์กร
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 2  วัน (09.00 – 16.00 น.) (12 ชั่วโมง)
     เนื้อหาการฝึกอบรม
    CQI – 9 Special Process Heat Treat System Assessment
     การแต่งกายผู้เข้าอบรม 
    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Introduction to Document Control for QMS, EMS & OHS อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร Introduction to Document Control for QMS, EMS & OHS อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

                       การจัดการและบริหารเอกสารอย่างมีประสิทธิภาพนับเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการทำงาน
          เนื่องจากการดำเนินงานขององค์กรต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับเอกสารจำนวนไม่มากก็น้อยในทุกกระบวนการ
                   หลักสูตรนี้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้าง พัฒนา บุคลากรขององค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจและมี
          ทักษะในการบริหารจัดการเอกสารอย่างเป็นขั้นตอน ทั้งการจัดทำ จัดเก็บ ค้นหาได้รวดเร็วครบถ้วน มี
          ประสิทธิภาพและประสิทธิผลกับระบบบริหารตามมาตรฐานทางองค์กรนำไปประยุกต์ใช้ นอกจากการฝึก
          อบรมจะครอบคลุมเนื้อหาที่จำเป็นในการบริหารจัดการงานเอกสาร ขั้นตอนต่างๆ ในการจัดการเอกสาร
          การจัดทำ เรียนรู้ระบบการจัดการเอกสาร รวมถึงกรณีศึกษาและการฝึกปฏิบัติเพื่อให้ผู้เข้าสัมมนามีความ
          เข้าใจสูงสุดและสามารถนำไปใช้ได้จริงในการปฏิบัติงานอีกด้วย

          วัตถุประสงค์

    เพื่อให้เข้าใจหลักการจัดทำเอกสาร และควบคุมเอกสาร จัดเก็บเอกสารทั้งภายในและภายนอก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    สามารถนำเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้กับระบบบริหารที่ทางองค์กรดำเนินการอย่างมีประสิทธิผล

           หัวข้อการอบรม

    ข้อกำหนดสำหรับระบบบริหารเอกสารที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานที่ทำการอบรม
    กระบวนการของการจัดการเอกสาร
    ข้อบังคับสำหรับเอกสารแต่ละประเภท
    การควบคุมเอกสาร
    การควบคุมบันทึก
    รูปแบบของการจัดการเอกสารและข้อดีข้อเสียของแต่ละรูปแบบ
    กลุ่มเป้าหมาย
    เจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการด้านเอกสารของระบบบริหารตามมาตรฐานที่ฝึกอบรม
    เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสารขององค์กรระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
    บุคคลที่รับผิดชอบในการใช้เอกสารขององค์กร
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Introduction to Document Control for QMS, EMS & OHS
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Management Representative For QMS, EMS & OHS อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร Management Representative For QMS, EMS & OHS อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

                 ตัวแทนผู้บริหารสำหรับช่วยผู้บริหารสูงสุดดูแลระบบบริหาร จะช่วยให้องค์กรมีผู้เชี่ยวชาญที่จำเป็น
          เพื่อสนับสนุนองค์กรในการสร้างการดำเนินการจัดการและการบำรุงรักษาระบบการจัดการตามมาตรฐาน
          ต่างๆที่นำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร ระหว่างการฝึกอบรมนี้คุณจะได้รับความ เข้าใจอย่างละเอียดเกี่ยวกับ
          แนวปฏิบัติที่ดีที่สุดของระบบการจัดการและปรับปรุงความพึงพอใจของลูกค้าองค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วน
          เสียที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประสิทธิภาพโดยรวมและประสิทธิผล 

          วัตถุประสงค์

    รับทราบความสัมพันธ์ระหว่าง  ISO 9001 และมาตรฐานอื่น ๆ และกรอบการกำกับดูแล
    ต้นแบบแนวคิดแนวทางวิธีการและเทคนิคที่ใช้สำหรับการดำเนินการและการจัดการที่มีประสิทธิภาพของระบบบริหารในมุมมองต่างๆ
    เรียนรู้วิธีตีความข้อกำหนดในแต่ละมาตรฐานและในบริบทเฉพาะขององค์กร
    เรียนรู้วิธีการสนับสนุนองค์กรในการวางแผนดำเนินการจัดการติดตามและบำรุงรักษาระบบบริหารคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
    ได้รับความเชี่ยวชาญในการให้คำแนะนำแก่องค์กรในการดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดของระบบการจัดการคุณภาพ

    หั    หัวข้อการอบรม

    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้อกำหนดแต่ละมาตรฐาน (เรียนหลักสูตรละมาตรฐาน)
    การเริ่มต้นจัดทำระบบบริหารในแต่ละมาตรฐาน
    การวางแผนการดำเนินการตามระบบบริหารแต่ละมาตรฐาน
    การนำ ระบบบริหารไปปฏิบัติ
    การตรวจสอบระบบบริหาร การวัดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
    การเตรียมการสำหรับการตรวจรับรองระบบ
    สรุปเนื้อหา อธิบายเอกสารที่เกี่ยวข้อง
    ทดสอบเพื่อออกใบประกาศนียบัตร 
    กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้จัดการหรือที่ปรึกษาที่เกี่ยวข้องในการจัดการคุณภาพ
    ที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่ต้องการพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพให้เชี่ยวชาญ
    บุคคลที่รับผิดชอบในการรักษาความสอดคล้องกับข้อกำหนดของระบบบริหารคุณภาพ
    ระยะเวลาในการอบรม    

    หลักสูตร 1  วัน (09.00 – 16.00 น.) (6 ชั่วโมง)
    เนื้อหาการฝึกอบรม
    Management Representative for QMS, EMS & OHS
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม
     การแต่งกายผู้เข้าอบรม 
    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร Change management for QMS, EMS & OHS อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร Change management for QMS, EMS & OHS อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

      ในการดำเนินธุรกิจนั้น การเปลี่ยนแปลงเพื่อรับมือกับสภาวการณ์ในปัจจุบันให้องค์กรสามารถก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลงนั้นไปได้อย่างราบรื่น เป็นเรื่องที่องค์กรต้องเผชิญอยู่ตลอดช่วงของการดำเนินธุรกิจอย่างแน่นอน ดังนั้นผู้บริหารในระดับต่างๆ ขององค์กรจึงต้องเข้าใจหลักการและเรียนรู้เทคนิคในการบริหารการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และตระหนักในความสำคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อความสำเร็จขององค์กร และสอดคล้องกับระบบบริหารที่องค์กรนำมาประยุกต์ใช้อย่างสอดคล้องด้วย

     วัตถุประสงค์
    เพื่อให้เกิดการตระหนักถึงความจำเป็นและรับมือการเปลี่ยนแปลง
    เพื่อเรียนรู้ทักษะที่จำเป็นต่อการทำงานเพื่อปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมของธุรกิจที่มีการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกที่มีผลต่อองค์กรในปัจจุบัน
    เพื่อสร้างภาวะผู้นำและทัศนคติต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลง
    เพื่อสามารถมีทักษะในการเปลี่ยนแปลง ทั้งในด้านรูปแบบ ผู้คน ข้อมูลและเครื่องมือต่างๆได้อย่างเป็นระบบ

    หัวข้อฝึกอบรม:

    ความหมายและแนวคิดของการจัดการและบริหารการเปลี่ยนแปลง
    ความเชื่อมโยงระบบบริหารองค์กร เช่นระบบบริหารงาน บุคลากร ระบบบริหารคุณภาพหรือสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ต่อการเปลี่ยนแปลง
    ตัวขับเคลื่อนที่สำคัญให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change Drivers)
    ปัจจัยที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
    ประเภทระดับและการตอบสนองของการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
    บทบาทของการบริหารการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ต่างๆ
    รูปแบบการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
    การพัฒนาตนเองสู่การเปลี่ยนแปลง
    ผู้นำการเปลี่ยนแปลง / คุณลักษณะของผู้นำ
    สาเหตุ และ เทคนิคการลดแรงต้าน
    วิธีการ/กระบวนการจัดการการเปลี่ยนแปลงและกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่อรูปแบบ ผู้คน ข้อมูลและเครื่องมือต่างๆ
    Workshop: การระดมสมอง และวางแผนการบริหารเปลี่ยนแปลง
    กรณีศึกษาการบริหารการเปลี่ยนแปลง
    กลุ่มเป้าหมาย 

    ผู้บริหาร ผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ
    วิศวกร หัวหน้างาน
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม 
    1 วัน  ( เวลา 09.00 – 16.00 น.)
    เนื้อหาการฝึกอบรม ;
    Change management for QMS, EMS & OHS
    วิธีการอบรม :

    การบรรยาย
    Workshop 
    การทำกิจกรรมกลุ่ม
    Pretest – Post test
    มีการลงทะเบียนก่อนการฝึกอบรมและมีการทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังการฝึกอบรมมีการทำรายงานผู้ผ่านการฝึกอบรม
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี

  • หลักสูตร ตัวแทนฝ่ายบริหารระบบการจัดการความปลอดภัยอาชีวอนามัย Occupation Health and Safety Management Repressentative (OHSMR) อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

    หลักสูตร ตัวแทนฝ่ายบริหารระบบการจัดการความปลอดภัยอาชีวอนามัย Occupation Health and Safety Management Repressentative (OHSMR) อบรมออนไลน์ อบรมด่วน

     ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

            องค์กรได้กำหนด  บทบาท  ความรับผิดชอบ  และอำนาจหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ประกาศแต่งตั้งต่าง ๆ ได้รับการสื่อสารไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารระดับสูง  ได้ดำเนินการแต่งตั้ง  ผู้แทนฝ่ายบริหารเพื่อให้มั่นใจว่า  ระบบการจัดการต่าง ๆ ได้ถูกจัดตั้ง  นำไปปฏิบัติ  ได้รับการรักษาไว้ และผู้บริหารจะได้รับการรายงานเพื่อการตัดสินใจทบทวน  และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงบุคลากรเทคโนโลยี  และงบประมาณอย่างเพียงพอที่จะให้การดำเนินงาน  การนำไปปฏิบัติได้ย่างมีประสิทธิผล ตัวแทนฝ่ายบริหารการจัดการความปลอดภัยมีบทบาทอย่างยิ่งในการจัดทำและควบคุมระบบให้มีประสิทธิผล ดังนั้นบุคคลากรที่ทำหน้าที่ตัวแทนฝ่ายบริหารจำเป็นต้องทราบหน้าที่ความรับผิดชอบการจัดทำและบริหารโครงการ รวมถึงปัญหาและการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้องเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร ทักษะความรู้ที่ถูกต้องของผู้ดำรงตำแหน่งตัวแทนฝ่ายบริหารจะช่วยให้องค์กรสามารถพัฒนาและรักษาระบบการบริหารเพื่อส่งผลให้องค์กรสามารถแข่งขันและได้รับการรับรอง หรือ คงธำรงรักษาระบบการบริหารสิ่งแวดล้อม

    วัตถุประสงค์:

    เพื่อให้ตัวแทนฝ่ายบริหารการจัดการความปลอดภัยมีความรู้และเข้าใจในการบริหารงาน
    เพื่อให้ตัวแทนฝ่ายบริหารการจัดการความปลอดภัย เข้าใจ บทบาทและความรับผิดชอบงาน
    เพื่อให้ตัวแทนฝ่ายบริหารดำเนินงานต่าง ๆได้ถูกต้องตามกฎหมาย

    หัวข้อการอบรม 
    แนวทางการพิจารณาบริบท ภายใน-ภายนอกองค์กร
    ระบบการบริหารความปลอดภัย
    ข้อกำหนดและความมุ่งหวังของระบบการบริหารความปลอดภัย
    อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของตัวแทนฝ่ายบริหาร
    คุณลักษณะและทักษะของตัวแทนฝ่ายบริหารที่ต้องทำ
    การทำประเมินอันตราย
    การจัดทำโครงการแผนงานและการติดตามผลการดำเนินงาน
    การจัดทำเอกสารและระบบเอกสาร
    การจัดการกับอุปสรรคระหว่างการจัดทำโครงการ
    การรณรงค์ส่งเสริม ให้เกิดความตระหนัก
    การตรวจประเมินกับวัตถุประสงค์
    การจัดการกับกระบวนการตรวจประเมินภายใน
    การเตรียมการรับการตรวจประเมิน
    การจัดการกับผู้ตรวจประเมิน
    สิ่งที่ต้องทำหลังการตรวจประเมิน
    การแก้ไขปัญหาสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
    การรายงานผู้บริหารระดับสูง 
    กลุ่มเป้าหมาย 
    ผู้ที่เป็นเตรียมตัวเป็น , OHSMR
    ผู้บริหารขององค์กร
    ตัวแทนฝ่ายบริหารขององค์กร (Safety Manager, OHSMR)
    คณะทางานด้านความปลอดภัย และบุคคลที่สนใจ
    ระยะเวลาในการฝึกอบรม 
    1 วัน  ( เวลา 09.00 – 16.00 น.)
    วิทยากร : 

    ผู้จัดทำโครงการ ISO Consult
    ที่ปรึกษา ISO
    เนื้อหาการฝึกอบรม ;
    STANDARD MANAGER Responsible OHSMR
    วิธีการอบรม : 

    การบรรยาย
    การทำ Workshop 
    การแต่งกายผู้เข้าอบรม 

    แต่งกายสุภาพ เหมาะสม กางเกงขายาว รองเท้าหุ้มส้น / รองเท้าเซฟตี้ 
    ไม่อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้น และรองเท้าแตะเข้าอบรมทุกกรณี